การพัฒนาระบบบริการผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วีและผู้ป่วยเอดส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
สกลนครโมเดล.
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
ผลงาน : เพิ่มประสิทธิภาพในการ รักษา ด้วย... การเสริมพลังอำนาจในกลุ่มผู้ ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลอากาศอำนวย อำเภออากาศอำนวย จังหวัด สกลนคร.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบบริการผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วีและผู้ป่วยเอดส์ อนงค์ อรุณรุ่ง โรงพยาบาลลาดบัวหลวง

ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา การพัฒนาระบบบริการผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วีและผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คำสำคัญ การพัฒนาระบบบริการ ผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วีและผู้ป่วยเอดส์

สมาชิกทีม น.พ. ณรงค์ ถวิลวิสาร แพทย์ศาสตร์ นายแพทย์เชี่ยวชาญ นางพงศิยา รัตนจรรยา เภสัชศาสตร์ เภสัชกรชำนาญการ นายเอกลักษณ์ ด้วงทอง ป. วิทยาศาสตร์การแพทย์ จนท.วิทยาศาสตร์การแพทย์ปฏิบัติการ นางสาวอนงค์ อรุณรุ่ง พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางสาวเสาวลักษณ์ ธีระจันทร์ คุรุศาสตร์ พนักงานบันทึกข้อมูล นางสาวรินนา สุขสาลี มัธยมศึกษาตอนต้น แกนนำกลุ่มใจร้อยใจ

เป้าหมาย เพื่อเพิ่มจำนวนการเข้าถึงระบบบริการผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วีและผู้ป่วยเอดส์ มากกว่า ๔๐๐ คน เพื่อเพิ่มระดับ CD4 Median มากกว่า ๙๐ cells เพื่อลดจำนวนผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ที่มี Viral load > 50 copies/ml ที่ ๑๒ เดือนหลังเริ่มยาต้านไวรัสเอดส์ น้อยกว่าร้อยละ ๒.๖๖ อัตราการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ใน ๑๒ เดือนแรกหลังเริ่มยา ต้านไวรัสเอดส์น้อยกว่าร้อยละ ๒.๖๐ ระยะเวลาดำเนินการ ๑ ปี พื้นที่ดำเนินการ อำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา   ออ

ปัญหาและสาเหตุ นับเป็นประวัติศาสตร์ที่มนุษยชาติต้องสูญเสียชีวิตเป็นจำนวนมากเมื่อเกิดการแพร่ระบาดของ โรคเอดส์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีผู้ป่วยเอดส์ จำนวน ๕,๐๒๑ ราย พ.ศ. ๒๕๕๘ ประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะมีการเคลื่อนย้ายประชากร จำนวนมาก อาจทำให้คนไทยมีความเสี่ยงในการเกิดการแพร่ระบาดของโรคเอดส์มากขึ้น การคาดประมาณการณ์ จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ ปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙ ด้วย AIDS Epidemic Model พบว่า จำนวน ๔๓๐,๔๐๐ คน ถ่ายทอดเชื้อจากการมี เพศสัมพันธ์จากชายรักชาย พนักงานบริการ ผู้ใช้สารเสพติด กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแผนยุทธศาสตร์ร่วมกันยุติเอดส์(Ending AIDS) มุ่งสู่ “เป้าหมายที่เป็นศูนย์” (Getting to Zero) ภายใต้กรอบแนวคิด Reach (เข้าถึง) Recruit (นำกลุ่มเป้าหมายเข้าสู่บริการ) Test (ตรวจหาการติดเชื้อ) Treat (รักษาด้วยยาต้าน) Retain (ทำให้คงอยู่ในระบบ)

ปัญหาและสาเหตุ (ต่อ) ประเมินคุณภาพบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ตามตัวชี้วัดและ Clinical Tracer พบเป็นปัญหาการเข้าถึงระบบบริการ กระบวนการดูแลรักษายังไม่ได้มาตรฐานและเกิดภาวะดื้อยา การพัฒนาระบบบริการผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วีและผู้ป่วยเอดส์อย่างต่อเนื่อง ปี ๒๕๕๖- ๒๕๕๘ ระยะที่ ๑ การพัฒนาการเข้าถึงระบบบริการ ระยะที่ ๒ การพัฒนาเพิ่มความครอบคลุมในการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์และป้องกันภาวะดื้อยา ระยะที่ ๓ การพัฒนาการรับยาอย่างต่อเนื่องและคงอยู่ในระบบบ

ปัญหาและสาเหตุ (ต่อ) จากการวิเคราะห์สาเหตุ การเข้าถึงยากในกลุ่มประชากรกลุ่มเสี่ยง เช่น ชายรักชาย หญิงบริการ กลุ่มผู้ใช้สารเสพติด การเข้ามาในการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ที่ล่าช้า ทำให้ผู้ป่วยเอดส์ เสียชีวิตเนื่องจาก CD๔ ต่ำมาก กระบวนการดูแลรักษายังไม่ได้มาตรฐานและเกิดภาวะดื้อยา การที่รับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ที่ยาวนาน ขาดวินัยในการ รับประทานยา

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ Reach-Recruit ประชุมทีมเพื่อวางแนวทางในการดูแลผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ และกำหนดนโยบาย จัดทำ Clinical tracer งานเอดส์เพื่อทบทวน วิเคราะห์และวางแผน แนวทางการดูแลดูแลผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ จัดตั้งเครือข่ายสนับสนุนการเข้าถึงถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น เช่น รพ.สต. ร้านขายยา Mapping ร้านอาหารในอำเภอลาดบัวหลวง อบรมให้ความรู้ในกลุ่มนักเรียน เยาวชน กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดและประชาชนทั่วไป

Reach - Recruit

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ (ต่อ) Test รณรงค์เจาะเลือดตรวจหาการติดเชื้อเอดส์ (VCT) ตรวจฟรี ปีละ ๒ ครั้ง รณรงค์เจาะเลือดตรวจหาการติดเชื้อเอดส์ (mobile clinic : VCT ) เชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง เช่น พนักงานหญิงบริการ กลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดและวัยรุ่นในชุมชน จัดบริการการให้บริการปรึกษาก่อนและหลังการตรวจเลือดแบบรู้ผลวันเดียว (SDR) รู้ผลการตรวจไม่เกิน ๔๕ นาทีและรับรองผลการตรวจที่ถูกต้องแม่นยำ จัดบริการที่เป็นมิตร (Friendly service)

Test

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ (ต่อ) Treat ให้บริการตรวจ CD๔ ทันทีหลังทราบผลการติดเชื้อเอชไอวี ให้คำปรึกษาการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์และเตรียมความโดยเร็วโดย ทีมสหวิชาชีพและแกนนำกลุ่มใจร้อยใจ จัดบริการการรักษาด้วยยาต้านไวรัสโดยเร็ว ไม่ว่า CD๔ เท่าไร คลินิกแบบ One stop service บริการที่เป็นมิตร (Friendly service) ระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา (Drug resistance monitoring) โดยการประเมินการ adherence

Treat

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ (ต่อ) Retain จัดทำตารางนัดหมายผู้ป่วยเป็นรายเดือน ติดตามผู้ป่วยเอดส์ที่ขาดนัด (ทางโทรศัพท์ ไลน์) ติดตามเยี่ยมบ้านโดยแกนนำกลุ่มใจร้อยใจและ อสม.เชี่ยวชาญด้านเอดส์ จัดระบบติดตามผู้ที่ยังไม่ได้รับเชื้อ เอช ไอ วี ให้กลับมาตรวจอย่างสม่ำเสมอ และให้คำปรึกษาการป้องกันการติดเชื้อ เอช ไอ วี (retest/stay negative)

Retain บัตรนัดห้องให้คำปรึกษา รายชื่อผู้ป่วยรับยา (กลุ่ม 1) รายชื่อผู้ป่วยรับยา (กลุ่ม 1) วันที่ เดือน พ. ศ. บัตรนัดห้องให้คำปรึกษา โรงพยาบาลลาดบัวหลวง โทร 0-3537-9094 ต่อ 113 และเบอร์ 089-5379054 ชื่อ.............................................................................HN………………………….. นัดครั้งต่อไป.................................................... เวลา 8.30 น. ( ) รับยาต่อ ( ) เจาะเลือด ( ) CD4 ( ) VL ( ) CBC ( ) Cr. ( ) Chol ( ) TG ( ) HDL ( ) LDL ( ) FBS ( ) SGPT ( ) อื่นๆ........................................ การปฏิบัติตัวก่อนเจาะเลือด ( ) งดน้ำงดอาหาร ตั้งแต่ 20.00 (2 ทุ่ม) ลำ ดับ ชื่อ-สกุล อายุ HN NAP โรค เรื้อรัง CD4 VL Bl. Chem Lab อื่นๆ 1 37 10837 D4-2006-038443 HT DLP 2 54 4423 D4-2006-013580 DLP 3 41 48770 D4-2007-124770 4 47 22728 D4-2006-016244 5 36 29997 D4-2006-038446

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ ๑. มีนโยบายและแนวทางที่ชัดเจนในการดูแลผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ ของโรงพยาบาลลาดบัวหลวง ๒. ตัวชี้วัดงานเอดส์ของโรงพยาบาลลาดบัวหลวง ตาราง ๑ ตัวชี้วัดงานเอดส์ของโรงพยาบาลลาดบัวหลวง ตัวชี้วัด งบประมาณ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๑. จำนวนของผู้ที่มารับการปรึกษาเพื่อตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วี ๓๓๑ ๓๑๒ ๔๑๙ ๒. ร้อยละของผู้ที่มารับการปรึกษาเพื่อตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วี รู้ผลในวันเดียว ๔๖.๑๓ ๔๘.๔๖ ๙๘.๓๖ ๓. ร้อยละของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับการ ตรวจ CD๔ หลังทราบผลไม่เกิน ๒ เดือน ๙๖.๖๖ ๑๐๐ ๔. ค่า CD๔ Median ของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ ขณะเริ่มยาต้านไวรัสเอดส์ ๑๗๔ ๙๐ ๓๐๒ ๕. ร้อยละ Drug Adherence ของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และ ผู้ป่วยเอดส์ที่รับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ ๗๔ ๙๕ ๖. ร้อยละของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ที่มี Viral load < 50 copies/ml ที่ ๑๒ เดือนหลัง เริ่ม ยาต้านไวรัสเอดส์ ๙๗.๓๔ ๗. ร้อยละของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ที่มี Viral Load > ๑,๐๐๐ copies/ml ที่ ๑๒ เดือน หลังเริ่มยาต้าน ไวรัสเอดส์ ๒.๖๖ ๐ ๘. ร้อยละของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ที่ขาดการ ติดตามรักษา ๒.๔๖ ๑.๑๒ ๙. อัตราการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ใน ๑๒ เดือนแรกหลังเริ่มยาต้านไวรัสเอดส์ ๒.๖๐

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ (ต่อ) ๓. ร้อยละของผู้ที่มารับการปรึกษาเพื่อตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วี รู้ผลในวันเดียว

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ (ต่อ) ๔. ร้อยละของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับการตรวจ CD๔ หลังทราบผลไม่เกิน ๒ เดือน

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ (ต่อ) ๕. ค่า CD๔ Median ของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ขณะเริ่ม ยาต้านไวรัสเอดส์

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ (ต่อ) ๖. ร้อยละ Drug Adherence ของผู้ติดเชื้อเอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ที่ รับประทานยาต้านไวรัสเอดส์

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ (ต่อ) ๗. ร้อยละของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ที่มี Viral load < 50 copies/ml ที่ ๑๒ เดือนหลังเริ่มยาต้านไวรัสเอดส์

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ (ต่อ) ๘. ร้อยละของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ที่มี Viral load > ๑,๐๐๐ copies/ml ที่ ๑๒ เดือนหลังเริ่มยาต้านไวรัสเอดส์

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ (ต่อ) ๙. ร้อยละของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ที่ขาดการติดตามรักษา

กิจกรรมการพัฒนา การเข้าถึงบริการ (ต่อ) ๑๐. อัตราการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ใน ๑๒ เดือนแรกหลัง เริ่มยาต้านไวรัสเอดส์

บทเรียนที่ได้รับ ผู้บริหารให้ความสำคัญและให้การสนับสนุนและความร่วมมือของทีมสหวิชาชีพและแกนนำ กลุ่มใจร้อยใจ ทำให้การทำงานประสบความสำเร็จ ความล่าช้าในการเข้ามาในระบบการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ ทำให้เสียชีวิตเนื่องจาก CD๔ ต่ำมาก ความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์เป็นบทบาทของผู้ป่วยเป็นหลัก โดยมี จนท.สาธารณสุขและเพื่อนๆ กลุ่มใจร้อยใจเป็นแรงเสริม ความพร้อมของผู้ป่วย/ครอบครัวเป็นส่วนสำคัญในการรับประทานยาต้านไวรัส เอดส์ที่ ครบถ้วนและต่อเนื่อง ตัวชี้วัด และ Clinical Tracer เป็นเครื่องมือที่ใช้การพัฒนาคุณภาพเข้ากับการปฏิบัติงาน ประจำในการวิเคราะห์สถานการณ์และทบทวนตรวจสอบผลลัพธ์ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกกลุ่มใจร้อย ทำให้มีกำลังใจในการรักษา  

บทเรียนที่ได้รับ แผนการพัฒนาต่อเนื่อง พัฒนาเครือข่ายชุมชนในการค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงเชิงรุกเพื่อค้นหา ผู้ป่วยรายใหม่ เพิ่มการเข้าถึงยาต้านไวรัสเอดส์โดยเร็วเพื่อลดอัตราการเสียชีวิต พัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสาและอสม. เชี่ยวชาญในดูแลผู้ป่วยเอดส์ในชุมชน เพื่อติดตามเยี่ยมบ้านร่วมกับทีมกลุ่มใจร้อยใจ รณรงค์และส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงบริการตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วี อย่างต่อเนื่อง พัฒนาศักยภาพทีมสหวิชาชีพในการดูแลผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ได้ อย่างมีคุณภาพ

การติดต่อกับทีมงาน นางสาวอนงค์ อรุณรุ่ง งานเอดส์ โรงพยาบาลลาดบัวหลวง อำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย์ ๑๓๒๓๐ เบอร์โทรศัพท์ ๐๓๕-๓๗๙๐๙๔ ๐๘๙-๕๓๗๙๐๕๔ email : anongarooonroong@hotmail.com  

ขอขอบคุณค่ะ สวัสดี