นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ณ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
งานบริการการศึกษา.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ผู้บริหารกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ.
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
Dream สถาบันส่งเสริม สุขภาพ บทบาท : ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย Service model Training center Research development Reference center Database network Referral.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การออกแบบและเทคโนโลยี
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
หลักเทคนิคการเขียน SAR
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ระบบบริหารข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ITAM)
SMS News Distribute Service
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
ตัวชี้วัดการปฏิบัติงานของ ผอ.รร.
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ภาคเหนือตอนบน ประจำปี 2562
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา เรื่อง “ระบบสารสนเทศเพื่อบันทึกข้อมูล ติดตาม และประเมินผลการจัดกิจกรรมนักศึกษา สำหรับหน่วยพัฒนาคุณภาพนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่” (ระบบ e-Activity) โดย นายครรชิต พิชัย นายณัฐกร จันทร์คำปัน

เหตุผลความจำเป็นที่ต้องจัดทำระบบสารสนเทศเพื่อบันทึกข้อมูล ติดตามและประเมินผลการจัดกิจกรรม (ระบบ e-Activity) คณะบริหารธุรกิจ 1.เดิมการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาจะเป็นไปโดยความสมัครใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม และรูปแบบการเก็บข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมยังไม่มีความเป็นระบบที่ชัดเจนและไม่สามารถนำมาอ้างอิงได้เมื่อมีการตรวจประกันคุณภาพการศึกษาประจำปี 2. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถือว่าการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเป็นกระบวนวิชาการศึกษาทั่วไปที่เรียกว่า “วิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม” จึงทำให้มีความจำเป็นต้องพัฒนาระบบการตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรมที่มีประสิทธิภาพเพื่อนำมาใช้งานด้านการลงทะเบียนและการตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรม 3. เพื่อแก้ไขปัญหาการตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรม และทำให้กระบวนการจัดการข้อมูลด้านกิจกรรมนักศึกษามีความเป็นระบบ สามารถตรวจสอบ และนำไปใช้ในการตัดสินใจของผู้บริหารคณะด้านการจัดสรรงบประมาณในการจัดกิจกรรมนักศึกษาของคณะบริหารธุรกิจ

ปัจจัยเอื้อทั้งภายในและภายนอก (Key Success Factor) ที่สนับสนุนให้เกิด Best Practice ด้านปัจจัยภายใน 1. ผู้บริหารคณะเห็นความสำคัญของการมีระบบฐานข้อมูลกิจกรรมที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง เพื่อลดระยะเวลาในการทำงานและเกิดประโยชน์แก่นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ 2. ผู้ปฏิบัติงานด้านพัฒนาคุณภาพนักศึกษามีความเข้าใจและเชี่ยวชาญในกระบวนการด้านกิจกรรมนักศึกษา และเห็นความจำเป็นต้องมีระบบที่มีมาตรฐานและปลอดภัยในการจัดการข้อมูลด้านกิจกรรมของนักศึกษา 3. บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของคณะบริหารธุรกิจ เป็นผู้ที่มีความสามารถในการเขียนโปรแกรมและมีความเข้าใจในกระบวนการจัดกิจกรรม จึงทำให้สามารถพัฒนาระบบ ที่สามารถนำมาใช้งานได้จริง

ปัจจัยเอื้อทั้งภายในและภายนอก (Key Success Factor) ที่สนับสนุนให้เกิด Best Practice ด้านปัจจัยภายนอก 1. ระบบ E-Activity จะทำให้บัณฑิตของคณะบริหารธุรกิจได้มีหนังสือรับรองกิจกรรมที่เป็นทางการ สามารถตรวจสอบได้ ทำให้โอกาสในการได้งานทำของบัณฑิตเพิ่มมากขึ้น 2. การนำกิจกรรมมาเป็นกระบวนวิชาการศึกษาทั่วไป 706100 ทำให้การตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาต้องมีความเป็นระบบ โดยระบบ E-Activity จะทำให้ปัญหาเรื่องการตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรมและชั่วโมงการเข้าร่วมกิจกรรมหมดไป 3. ระบบ E-Activity ทำให้ระบบตรวจสอบและประเมินระบบประกันคุณภาพการศึกษา มีหลักฐานอ้างอิงและใช้เวลาในการรวบรวมไม่นานและง่ายต่อการค้นหาและตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินฯ

คุณค่าต่อองค์กรจากการมีระบบ E-Activity สามารถกำหนดจำนวนนักศึกษาผู้เข้าร่วมได้แน่นอน ทำให้หน่วยงานสามารถกำหนดงบประมาณให้มีความเหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างแท้จริง ทำให้การกำหนดรูปแบบกิจกรรมเป็นไปตามยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาของคณะบริหารธุรกิจ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทำให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของการเข้าร่วมกิจกรรมและเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การที่ระบบ E-Activity สามารถพิมพ์หนังสือรับรองกิจกรรมได้ ทำให้นักศึกษาสามารถนำไปประกอบเอกสารการรับสมัครงานแนบกับ Transcript ผลการเรียน ลดเวลาของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานลงอย่างมาก และกระบวนการทำงานมีความเป็นระบบสามารถกำหนดระยะเวลาสิ้นสุดของงานได้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม ทำให้มีระบบติดตามผลประเมินกิจกรรมที่ชัดเจน สามารถนำมาอ้างอิงเป็นเอกสารหลักฐานได้เมื่อมีการตรวจประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา ได้รับคัดเลือกจาก ม.ช. เพื่อใช้เป็นระบบต้นแบบในการนำไปพัฒนาให้ทุกคณะได้ใช้งานในการจัดการข้อมูลด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา และทะเบียนรับรองกิจกรรม (ขณะนี้มีคณะนำร่อง 6 คณะในการนำไปใช้งาน)

โครงสร้างการทำงานระบบ e-Activity

ระบบประวัตินักศึกษา

รายงานประวัตินักศึกษา

ระบบจัดเตรียมกิจกรรม

ระบบจัดเตรียมกิจกรรม

ระบบประชาสัมพันธ์แจ้งการจัดกิจกรรม (Admin)

ระบบประชาสัมพันธ์กิจกรรม (นักศึกษา)

ระบบรับสมัครนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม

ระบบลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา

ระบบแจ้งสิทธิเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา

ระบบตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรม

ระบบประเมินกิจกรรม (Admin)

ระบบประเมินกิจกรรม (นักศึกษา)

ระบบสรุปผลประเมินกิจกรรม

สรุปผลประเมินกิจกรรม

หนังสือรับรองกิจกรรม

รายงานการพัฒนาตนเองของนักศึกษาตามแนว 7Qs

รายงานสรุปผลการจัดกิจกรรม