ข้อแนะนำการพัฒนาฐานข้อมูล Skill Mapping สถาบันศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยบูรพา 22 พฤษภาคม 2546.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
Advertisements

เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
ซอฟแวร์ที่สนใจ Adobe Acrobat 6.0 Professional.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Click Here Click Here. หน้าแรก รายละเอียด LINK Microsoft Word Microsoft Word โปรแกรมการพิมพ์ เอกสาร จดหมายที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดใน โลก ! ผมคิดว่ายังงั้น.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ทรัพย์สินทางปัญญากับการส่งเสริมการประกอบธุรกิจการค้าและการตลาด
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
ตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH)
เอกสารแนะนำการใช้งานระบบจัดเก็บและบันทึกข้อมูลทะเบียนพาณิชย์ (เบื้องต้น) โดย นายพชร อินทรวรพัฒน์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.
การใช้งาน Microsoft Excel
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
คู่มือการใช้งานการซื้อกระดาษ
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
1 การนำใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการชุมชน นรินทร บุญพราหมณ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โครงการความร่วมมือเพื่อแก้ปัญหาความยากจน.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
คู่มือการเปิดเผยข้อมูลราคากลาง ในระบบ e - GP สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดพิจิตร.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
การใช้งานระดับจังหวัด โดย กลุ่มพัฒนาระบบสารสนเทศ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
เรื่อง แนะนำโปรแกรม Microsoft excel หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ระบบฐานข้อมูลบริการวิชาการ ของสำนักงานบริการวิชาการ ระเบียบพัฒนาวิชาการ พ. ศ.2551 คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมูล บริการวิชาการ – สะดวก รวดเร็ว ไม่ซับซ้อน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
สรุป การเมืองการปกครองท้องถิ่น ไทย POL 341 ผศ. ดร. ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร คณะรัฐศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
โดย ภก.อรรถกร บุญแจ้ง เภสัชกรชำนาญการ โรงพยาบาลมหาชนะชัย.
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
วัตถุประสงค์ของโครงการ
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การทำใบจัดซื้อ/จ้าง.
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หลักเทคนิคการเขียน SAR
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ความหมายของการประกันคุณภาพการพยาบาล
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การขอโครงการวิจัย.
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2400 (ปรับปรุง)
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อแนะนำการพัฒนาฐานข้อมูล Skill Mapping สถาบันศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยบูรพา 22 พฤษภาคม 2546

โปรแกรมป้อนข้อมูล ไม่อำนวยความสะดวก ต่อการใช้งาน โดยเฉพาะต่อการป้อนข้อมูล ของบุคคลที่ไม่เคยสัมผัสแบบสัมภาษณ์มา ก่อน ( เช่น การจ้างนิสิต, นักศึกษามาช่วย ป้อนข้อมูล ) โปรแกรมป้อนข้อมูล ไม่อำนวยความสะดวก ต่อการใช้งาน โดยเฉพาะต่อการป้อนข้อมูล ของบุคคลที่ไม่เคยสัมผัสแบบสัมภาษณ์มา ก่อน ( เช่น การจ้างนิสิต, นักศึกษามาช่วย ป้อนข้อมูล )  ควรปรับปรุงให้โปรแกรมมีระบบ User Interface ที่สะดวกต่อการใช้งาน ชื่อผลิตภัณฑ์เฉพาะ : A00_prod_name:

การออกแบบฟิลด์ใน Datadic. ไม่สัมพันธ์กับ ประเภทข้อมูล (Data type) ของโปรแกรม Access ที่เลือกใช้งาน เช่น กำหนดให้ ประเภทข้อมูลใน Datadic. เป็น C ซึ่ง หมายถึง Character หรือ Number ขนาด 3, 5 หลัก แต่โปรแกรม Access กำหนดประเภท ข้อมูลเป็น Text ไม่ใช่ Character รวมทั้ง Number ก็ไม่ได้กำหนดว่าจะต้องเป็นกี่หลัก แต่ต้องกำหนดเป็น Byte, Integer หรือ Double การออกแบบฟิลด์ใน Datadic. ไม่สัมพันธ์กับ ประเภทข้อมูล (Data type) ของโปรแกรม Access ที่เลือกใช้งาน เช่น กำหนดให้ ประเภทข้อมูลใน Datadic. เป็น C ซึ่ง หมายถึง Character หรือ Number ขนาด 3, 5 หลัก แต่โปรแกรม Access กำหนดประเภท ข้อมูลเป็น Text ไม่ใช่ Character รวมทั้ง Number ก็ไม่ได้กำหนดว่าจะต้องเป็นกี่หลัก แต่ต้องกำหนดเป็น Byte, Integer หรือ Double  ควรแก้ไข Datadic. ให้สัมพันธ์กับ โปรแกรม Access ที่เลือกใช้งานด้วย

การป้อนข้อมูลรหัสผลิตภัณฑ์, รหัสหมู่บ้าน ไม่สะดวก ตรวจสอบค่ารหัสได้ยาก ช้า และ อาจผิดพลาดได้ง่าย เนื่องจากจะต้องไปเปิด ไฟล์หรือโปรแกรม กชช 2 ค ในแต่ละครั้งที่มี การป้อนข้อมูล การป้อนข้อมูลรหัสผลิตภัณฑ์, รหัสหมู่บ้าน ไม่สะดวก ตรวจสอบค่ารหัสได้ยาก ช้า และ อาจผิดพลาดได้ง่าย เนื่องจากจะต้องไปเปิด ไฟล์หรือโปรแกรม กชช 2 ค ในแต่ละครั้งที่มี การป้อนข้อมูล  ข้อมูล กชช 2 ค ควรนำมาใส่ไว้ใน โปรแกรม และสร้างความสัมพันธ์กับฟิลด์ ตำบล, อำเภอ, จังหวัด เพื่อให้แสดงผลได้ โดยอัตโนมัติ ตาราง กชช 2 ค รหัส กชช 2 ค รหัสตำบล ชื่อตำบล รหัสอำเภอ ชื่ออำเภอ รหัสจังหวัด ชื่อจังหวัด เลือกตำบล : เลือกอำเภอ : เลือกจังหวัด : รหัสหมู่บ้าน : หมู่บ้าน ( ที่ ): xxxxxxxx

ชื่อผลิตภัณฑ์หลัก ได้กำหนดให้ป้อนตามจริง ทั้งๆ ที่ข้อมูลส่วนนี้มีความสำคัญมาก ในการ ทำ Category ผลิตภัณฑ์ ชื่อผลิตภัณฑ์หลัก ได้กำหนดให้ป้อนตามจริง ทั้งๆ ที่ข้อมูลส่วนนี้มีความสำคัญมาก ในการ ทำ Category ผลิตภัณฑ์  ควรกำหนดชื่อเรียกของรายการ “ ชื่อ ผลิตภัณฑ์หลัก ” ให้ชัดเจน และควบคุม ด้วยรหัส

การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยใช้ การป้อนครั้งแรกผ่านกระดาษนำเข้าข้อมูล ด้วย MS Excel แล้วค่อยป้อนอีกครั้งผ่าน โปรแกรมที่ออกแบบไว้ ทำให้เกิดความ ซ้ำซ้อนในการทำงาน ไม่สะดวก ทำให้งาน ดำเนินการได้ช้ากว่าที่ควร การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยใช้ การป้อนครั้งแรกผ่านกระดาษนำเข้าข้อมูล ด้วย MS Excel แล้วค่อยป้อนอีกครั้งผ่าน โปรแกรมที่ออกแบบไว้ ทำให้เกิดความ ซ้ำซ้อนในการทำงาน ไม่สะดวก ทำให้งาน ดำเนินการได้ช้ากว่าที่ควร  ควรทำระบบตรวจสอบข้อมูลภายใน โปรแกรมที่พัฒนาด้วย Access ป้อนข้อมูล ตรวจสอบ / ปรับปรุงข้อมูลด้วยเจ้าหน้าภาคสนาม ตรวจสอบ / ปรับปรุงข้อมูลด้วยคณะทำงาน 2 ชุด

ฟอร์มป้อนข้อมูล ผู้ป้อนข้อมูล ฟอร์มป้อนข้อมูล ตรวจสอบครั้งที่ 2 ฟอร์มป้อนข้อมูลครั้งแรก บันทึกชื่อผู้ป้อนข้อมูล ตรวจสอบครั้งที่ 1 ฟอร์มตรวจสอบ / ปรับปรุงข้อมูลครั้งแรก บันทึกชื่อผู้ผู้ตรวจสอบ ฟอร์มตรวจสอบ / ปรับปรุงข้อมูลครั้งที่ 2, 3 บันทึกชื่อผู้ผู้ตรวจสอบ

ข้อมูลหมู่บ้าน, ตำบล, อำเภอ, จังหวัด มีการ ใช้หลายตาราง ( พบในตารางภูมิปัญญา และ ตารางบุคคล ) ทำให้เกิดความซ้ำซ้อนต่อการ ใช้งาน และอาจจะผิดพลาดต่อการป้อนได้ ง่าย เช่น รายการแรกอาจจะป้อนชื่อจังหวัด “ กรุงเทพมหานคร ” แต่เมื่อป้อนรายการต่อไป อาจจะพิมพ์เป็น “ กทม.” หรือ “ กรุงเทพ ” ส่งผลให้การประมวลผลเกิดปัญหาได้ง่าย ข้อมูลหมู่บ้าน, ตำบล, อำเภอ, จังหวัด มีการ ใช้หลายตาราง ( พบในตารางภูมิปัญญา และ ตารางบุคคล ) ทำให้เกิดความซ้ำซ้อนต่อการ ใช้งาน และอาจจะผิดพลาดต่อการป้อนได้ ง่าย เช่น รายการแรกอาจจะป้อนชื่อจังหวัด “ กรุงเทพมหานคร ” แต่เมื่อป้อนรายการต่อไป อาจจะพิมพ์เป็น “ กทม.” หรือ “ กรุงเทพ ” ส่งผลให้การประมวลผลเกิดปัญหาได้ง่าย  ควรทำการแก้ไขรายการที่มีซ้ำกัน ให้เป็น ตารางเฉพาะ แล้วใช้ระบบ Drop Down List เข้ามาควบคุมการเลือก  ข้อมูลอีกหลายอย่าง มีการใช้ซ้ำซ้อน ลักษณะนี้ ควรทำการปรับระบบด้วย

ข้อมูลที่มีคำตอบได้หลายข้อ เช่น คุณค่าภูมิ ปัญญา (A3_2) มีรายการเลือก 7 รายการ หากนำมาผสมกันเป็นค่ารหัส อาจจะทำผู้ใช้ ฐานข้อมูลไม่สามารถทราบว่าค่าดังกล่าว เป็นคำตอบจากรายการใดบ้าง ควรจัดทำ ระบบที่สามารถแสดงผลและแปลความหมาย ได้ทันที ข้อมูลที่มีคำตอบได้หลายข้อ เช่น คุณค่าภูมิ ปัญญา (A3_2) มีรายการเลือก 7 รายการ หากนำมาผสมกันเป็นค่ารหัส อาจจะทำผู้ใช้ ฐานข้อมูลไม่สามารถทราบว่าค่าดังกล่าว เป็นคำตอบจากรายการใดบ้าง ควรจัดทำ ระบบที่สามารถแสดงผลและแปลความหมาย ได้ทันที รหัสผลิตภัณฑ์, รหัสหมู่บ้าน มีการนำไปใช้ กับตารางหลายตาราง จึงควรทำ Drop Down List ให้เลือกได้ หรือควรมีระบบ ตรวจสอบการป้อนข้อมูลกับตาราง “ ภูมิ ปัญญา ” ซึ่งเป็นตารางแรกในการป้อนข้อมูล ว่ารหัสที่ป้อนลงไป ถูกต้องหรือไม่ และเป็น รหัสที่เคยป้อนป้อนแล้วหรือไม่ หากรหัสที่ ป้อนไม่เคยป้อน หรือไม่มีใน “ ตารางภูมิ ปัญญา ” ต้องไม่อนุญาตให้ป้อนข้อมูลใน ตารางอื่นๆ รหัสผลิตภัณฑ์, รหัสหมู่บ้าน มีการนำไปใช้ กับตารางหลายตาราง จึงควรทำ Drop Down List ให้เลือกได้ หรือควรมีระบบ ตรวจสอบการป้อนข้อมูลกับตาราง “ ภูมิ ปัญญา ” ซึ่งเป็นตารางแรกในการป้อนข้อมูล ว่ารหัสที่ป้อนลงไป ถูกต้องหรือไม่ และเป็น รหัสที่เคยป้อนป้อนแล้วหรือไม่ หากรหัสที่ ป้อนไม่เคยป้อน หรือไม่มีใน “ ตารางภูมิ ปัญญา ” ต้องไม่อนุญาตให้ป้อนข้อมูลใน ตารางอื่นๆ