ข้อแนะนำการพัฒนาฐานข้อมูล Skill Mapping สถาบันศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยบูรพา 22 พฤษภาคม 2546
โปรแกรมป้อนข้อมูล ไม่อำนวยความสะดวก ต่อการใช้งาน โดยเฉพาะต่อการป้อนข้อมูล ของบุคคลที่ไม่เคยสัมผัสแบบสัมภาษณ์มา ก่อน ( เช่น การจ้างนิสิต, นักศึกษามาช่วย ป้อนข้อมูล ) โปรแกรมป้อนข้อมูล ไม่อำนวยความสะดวก ต่อการใช้งาน โดยเฉพาะต่อการป้อนข้อมูล ของบุคคลที่ไม่เคยสัมผัสแบบสัมภาษณ์มา ก่อน ( เช่น การจ้างนิสิต, นักศึกษามาช่วย ป้อนข้อมูล ) ควรปรับปรุงให้โปรแกรมมีระบบ User Interface ที่สะดวกต่อการใช้งาน ชื่อผลิตภัณฑ์เฉพาะ : A00_prod_name:
การออกแบบฟิลด์ใน Datadic. ไม่สัมพันธ์กับ ประเภทข้อมูล (Data type) ของโปรแกรม Access ที่เลือกใช้งาน เช่น กำหนดให้ ประเภทข้อมูลใน Datadic. เป็น C ซึ่ง หมายถึง Character หรือ Number ขนาด 3, 5 หลัก แต่โปรแกรม Access กำหนดประเภท ข้อมูลเป็น Text ไม่ใช่ Character รวมทั้ง Number ก็ไม่ได้กำหนดว่าจะต้องเป็นกี่หลัก แต่ต้องกำหนดเป็น Byte, Integer หรือ Double การออกแบบฟิลด์ใน Datadic. ไม่สัมพันธ์กับ ประเภทข้อมูล (Data type) ของโปรแกรม Access ที่เลือกใช้งาน เช่น กำหนดให้ ประเภทข้อมูลใน Datadic. เป็น C ซึ่ง หมายถึง Character หรือ Number ขนาด 3, 5 หลัก แต่โปรแกรม Access กำหนดประเภท ข้อมูลเป็น Text ไม่ใช่ Character รวมทั้ง Number ก็ไม่ได้กำหนดว่าจะต้องเป็นกี่หลัก แต่ต้องกำหนดเป็น Byte, Integer หรือ Double ควรแก้ไข Datadic. ให้สัมพันธ์กับ โปรแกรม Access ที่เลือกใช้งานด้วย
การป้อนข้อมูลรหัสผลิตภัณฑ์, รหัสหมู่บ้าน ไม่สะดวก ตรวจสอบค่ารหัสได้ยาก ช้า และ อาจผิดพลาดได้ง่าย เนื่องจากจะต้องไปเปิด ไฟล์หรือโปรแกรม กชช 2 ค ในแต่ละครั้งที่มี การป้อนข้อมูล การป้อนข้อมูลรหัสผลิตภัณฑ์, รหัสหมู่บ้าน ไม่สะดวก ตรวจสอบค่ารหัสได้ยาก ช้า และ อาจผิดพลาดได้ง่าย เนื่องจากจะต้องไปเปิด ไฟล์หรือโปรแกรม กชช 2 ค ในแต่ละครั้งที่มี การป้อนข้อมูล ข้อมูล กชช 2 ค ควรนำมาใส่ไว้ใน โปรแกรม และสร้างความสัมพันธ์กับฟิลด์ ตำบล, อำเภอ, จังหวัด เพื่อให้แสดงผลได้ โดยอัตโนมัติ ตาราง กชช 2 ค รหัส กชช 2 ค รหัสตำบล ชื่อตำบล รหัสอำเภอ ชื่ออำเภอ รหัสจังหวัด ชื่อจังหวัด เลือกตำบล : เลือกอำเภอ : เลือกจังหวัด : รหัสหมู่บ้าน : หมู่บ้าน ( ที่ ): xxxxxxxx
ชื่อผลิตภัณฑ์หลัก ได้กำหนดให้ป้อนตามจริง ทั้งๆ ที่ข้อมูลส่วนนี้มีความสำคัญมาก ในการ ทำ Category ผลิตภัณฑ์ ชื่อผลิตภัณฑ์หลัก ได้กำหนดให้ป้อนตามจริง ทั้งๆ ที่ข้อมูลส่วนนี้มีความสำคัญมาก ในการ ทำ Category ผลิตภัณฑ์ ควรกำหนดชื่อเรียกของรายการ “ ชื่อ ผลิตภัณฑ์หลัก ” ให้ชัดเจน และควบคุม ด้วยรหัส
การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยใช้ การป้อนครั้งแรกผ่านกระดาษนำเข้าข้อมูล ด้วย MS Excel แล้วค่อยป้อนอีกครั้งผ่าน โปรแกรมที่ออกแบบไว้ ทำให้เกิดความ ซ้ำซ้อนในการทำงาน ไม่สะดวก ทำให้งาน ดำเนินการได้ช้ากว่าที่ควร การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยใช้ การป้อนครั้งแรกผ่านกระดาษนำเข้าข้อมูล ด้วย MS Excel แล้วค่อยป้อนอีกครั้งผ่าน โปรแกรมที่ออกแบบไว้ ทำให้เกิดความ ซ้ำซ้อนในการทำงาน ไม่สะดวก ทำให้งาน ดำเนินการได้ช้ากว่าที่ควร ควรทำระบบตรวจสอบข้อมูลภายใน โปรแกรมที่พัฒนาด้วย Access ป้อนข้อมูล ตรวจสอบ / ปรับปรุงข้อมูลด้วยเจ้าหน้าภาคสนาม ตรวจสอบ / ปรับปรุงข้อมูลด้วยคณะทำงาน 2 ชุด
ฟอร์มป้อนข้อมูล ผู้ป้อนข้อมูล ฟอร์มป้อนข้อมูล ตรวจสอบครั้งที่ 2 ฟอร์มป้อนข้อมูลครั้งแรก บันทึกชื่อผู้ป้อนข้อมูล ตรวจสอบครั้งที่ 1 ฟอร์มตรวจสอบ / ปรับปรุงข้อมูลครั้งแรก บันทึกชื่อผู้ผู้ตรวจสอบ ฟอร์มตรวจสอบ / ปรับปรุงข้อมูลครั้งที่ 2, 3 บันทึกชื่อผู้ผู้ตรวจสอบ
ข้อมูลหมู่บ้าน, ตำบล, อำเภอ, จังหวัด มีการ ใช้หลายตาราง ( พบในตารางภูมิปัญญา และ ตารางบุคคล ) ทำให้เกิดความซ้ำซ้อนต่อการ ใช้งาน และอาจจะผิดพลาดต่อการป้อนได้ ง่าย เช่น รายการแรกอาจจะป้อนชื่อจังหวัด “ กรุงเทพมหานคร ” แต่เมื่อป้อนรายการต่อไป อาจจะพิมพ์เป็น “ กทม.” หรือ “ กรุงเทพ ” ส่งผลให้การประมวลผลเกิดปัญหาได้ง่าย ข้อมูลหมู่บ้าน, ตำบล, อำเภอ, จังหวัด มีการ ใช้หลายตาราง ( พบในตารางภูมิปัญญา และ ตารางบุคคล ) ทำให้เกิดความซ้ำซ้อนต่อการ ใช้งาน และอาจจะผิดพลาดต่อการป้อนได้ ง่าย เช่น รายการแรกอาจจะป้อนชื่อจังหวัด “ กรุงเทพมหานคร ” แต่เมื่อป้อนรายการต่อไป อาจจะพิมพ์เป็น “ กทม.” หรือ “ กรุงเทพ ” ส่งผลให้การประมวลผลเกิดปัญหาได้ง่าย ควรทำการแก้ไขรายการที่มีซ้ำกัน ให้เป็น ตารางเฉพาะ แล้วใช้ระบบ Drop Down List เข้ามาควบคุมการเลือก ข้อมูลอีกหลายอย่าง มีการใช้ซ้ำซ้อน ลักษณะนี้ ควรทำการปรับระบบด้วย
ข้อมูลที่มีคำตอบได้หลายข้อ เช่น คุณค่าภูมิ ปัญญา (A3_2) มีรายการเลือก 7 รายการ หากนำมาผสมกันเป็นค่ารหัส อาจจะทำผู้ใช้ ฐานข้อมูลไม่สามารถทราบว่าค่าดังกล่าว เป็นคำตอบจากรายการใดบ้าง ควรจัดทำ ระบบที่สามารถแสดงผลและแปลความหมาย ได้ทันที ข้อมูลที่มีคำตอบได้หลายข้อ เช่น คุณค่าภูมิ ปัญญา (A3_2) มีรายการเลือก 7 รายการ หากนำมาผสมกันเป็นค่ารหัส อาจจะทำผู้ใช้ ฐานข้อมูลไม่สามารถทราบว่าค่าดังกล่าว เป็นคำตอบจากรายการใดบ้าง ควรจัดทำ ระบบที่สามารถแสดงผลและแปลความหมาย ได้ทันที รหัสผลิตภัณฑ์, รหัสหมู่บ้าน มีการนำไปใช้ กับตารางหลายตาราง จึงควรทำ Drop Down List ให้เลือกได้ หรือควรมีระบบ ตรวจสอบการป้อนข้อมูลกับตาราง “ ภูมิ ปัญญา ” ซึ่งเป็นตารางแรกในการป้อนข้อมูล ว่ารหัสที่ป้อนลงไป ถูกต้องหรือไม่ และเป็น รหัสที่เคยป้อนป้อนแล้วหรือไม่ หากรหัสที่ ป้อนไม่เคยป้อน หรือไม่มีใน “ ตารางภูมิ ปัญญา ” ต้องไม่อนุญาตให้ป้อนข้อมูลใน ตารางอื่นๆ รหัสผลิตภัณฑ์, รหัสหมู่บ้าน มีการนำไปใช้ กับตารางหลายตาราง จึงควรทำ Drop Down List ให้เลือกได้ หรือควรมีระบบ ตรวจสอบการป้อนข้อมูลกับตาราง “ ภูมิ ปัญญา ” ซึ่งเป็นตารางแรกในการป้อนข้อมูล ว่ารหัสที่ป้อนลงไป ถูกต้องหรือไม่ และเป็น รหัสที่เคยป้อนป้อนแล้วหรือไม่ หากรหัสที่ ป้อนไม่เคยป้อน หรือไม่มีใน “ ตารางภูมิ ปัญญา ” ต้องไม่อนุญาตให้ป้อนข้อมูลใน ตารางอื่นๆ