ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วัตถุประสงค์ในการวิจัย 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของระบบการบริหาร และการจัดการงานธุรการของวิทยาลัยเทคโนโลยี โปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานธุรการ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติหน้าที่ของ บุคลากรงานธุรการ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย เป็นบุคลากรของ วิทยาลัยฯ จำนวน 200 คน กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำแนก ออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ 1. กลุ่มสายการสอน ได้มาจากการสุ่ม ตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) จำนวน 170 คน 2. กลุ่มส่งเสริมการสอน ได้มาจากการสุ่ม ตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) จำนวน 30 คน
จากตาราง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นครู - อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ จำนวน 200 คน และเป็น เพศชายมากที่สุด จำนวน 124 คน และจำนวนครั้ง ที่มาใช้บริการ 11 – 20 ครั้ง ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบ แบบสอบถาม จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า สถานภาพจำนวนร้อยละ ครู – อาจารย์ และ เจ้าหน้าที่ ชาย – 20 ครั้ง ผลวิเคราะห์ / ตารางที่สำคัญ
ผลวิเคราะห์ / ตารางที่สาคัญ ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานธุรการ วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ มีผลการวิจัยดังนี้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการ พบว่า ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ธุรการ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วน เบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D) ระดับ ความพึง พอใจ 1. ด้านคุณภาพของงาน มาก 2. ด้านความรอบรู้ในงานที่ทำ มาก 3. ด้านความรวดเร็ว มาก 4. ด้านความประหยัดคุ้มค่าใน การใช้ทรัพยากร มาก 5. ด้านความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการ มาก เฉลี่ยรวม มาก
ด้านความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วน เบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D) ระดับ ความ คิดเห็น 1. ให้ความช่วยเหลือหรือให้บริการด้วย ความเต็มใจและ จริงใจ มาก 2. ผู้ใช้บริการขอรับบริการจากบุคลากร งานธุรการ ได้ทุกครั้ง โดยไม่ติดขัด มาก 3. ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในการ บริการ มาก 4. ให้บริการด้วยวาจาสุภาพ มาก 5. งานธุรการเต็มใจรับฟังข้อคิดเห็นและ วิพากษ์วิจารณ์ ของผู้ใช้บริการ มาก ค่าเฉลี่ยรวม มาก ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ พบว่า
ด้านความรวดเร็ว ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วน เบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D) ระดับ ความ คิดเห็น 1. ให้บริการเที่ยงตรงและสะดวก รวดเร็ว มาก 2. มีระบบสื่อสารที่ทันสมัยรวดเร็ว มาก 3. สามารถตรวจสอบค้นเอกสารได้ รวดเร็ว มาก เฉลี่ยรวม มาก ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านความรวดเร็ว พบว่า
ด้านความประหยัดคุ้มค่าในการใช้ ทรัพยากร ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วน เบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D) ระดับ ความ คิดเห็น 1. มีอุปกรณ์เครื่องมือที่จำเป็นในการ ปฏิบัติงานเพียงพอ มาก 2. มีการใช้ทรัพยากรในสำนักงานอย่าง คุ้มค่า / ดูแลรักษา ได้เป็นอย่างดี มาก 3. มีบุคลากรปฏิบัติหน้าที่เหมาะสมกับ งาน มาก 4. มีการเตรียมเอกสารและอุปกรณ์ เพียงพอ มาก 5. ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่านำกลับมาใช้ให้ เกิดประโยชน์ มาก ค่าเฉลี่ยรวม มาก ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานด้านความประหยัด คุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร พบว่า
สรุปผลการวิจัย ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพด้านคุณภาพของการปฏิบัติงานธุรการ สรุปได้ดังนี้ ด้านความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการ ( ค่าเฉลี่ย =4.30) ด้านความรวดเร็ว ( ค่าเฉลี่ย =4.25) ด้านความประหยัด คุ้มค่าในการใช้ ทรัพยากร ( ค่าเฉลี่ย =4.16)
ข้อเสนอแน ะทั่วไป ข้อเสนอแ นะ จากการวิจัยเกี่ยวกับความคิดเห็นด้าน ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานธุรการ ของวิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นตรงกันเกี่ยวกับ การให้รักษามาตรฐานการปฏิบัติงานและพัฒนา งานตามความเหมาะสมกับยุคสมัยต่อไป ข้อเสนอแนะสำหรับการ นำผลวิจัยไปใช้ การวิจัยครั้งต่อไป ควรใช้เป็นแนวทางในการ ปฏิบัติงานธุรการให้มีความเสมอต้นเสมอปลาย ปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน และเจาะลึกในแต่ละงาน ที่เกี่ยวข้องกับงานธุรการ
จบการนำเสนอ