การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้ยานพาหนะเพื่อการจัดส่ง สินค้า เรื่องการดูแลรักษาเครื่องยนต์ เบื้องต้น ของนักเรียนชั้น ปวช. ปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้รถยนต์ เป็นสื่อการสอน ประทาน ทาทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย ประทาน ทาทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการใช้ยานพาหนะ เพื่อการจัดส่งสินค้า เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องยนต์เบื้องต้น ของนักเรียนชั้น ปวช. ปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ รถยนต์ เป็นสื่อการสอน
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรของการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษาระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 3/5 สาขาวิชาการตลาด ของ วิทยาลัยอาชีวะศึกษาพณิชยการเชียงราย ที่ ลงทะเบียนเรียนวิชาการใช้ยานพาหนะเพื่อการ จัดส่งสินค้า ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 24 คน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตารางที่ 1 แสดงการการ วิเคราะห์ผลคะแนน จากใบงานและ แบบทดสอบเรื่องการ ตรวจเช็คเครื่องยนต์ เบื้องต้น ( เรียนปกติ ในห้องเรียน ) ตารางที่ 1 แสดงการการ วิเคราะห์ผลคะแนน จากใบงานและ แบบทดสอบเรื่องการ ตรวจเช็คเครื่องยนต์ เบื้องต้น ( เรียนปกติ ในห้องเรียน )
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนจากใบงาน นักเรียน ทั้งห้องทำคะแนนเฉลี่ยได้ 7.04 คะแนน จากคะแนน เต็ม 10 คะแนน จากคะแนนจาก แบบทดสอบวัดความรู้ นักเรียนทำคะแนนเฉลี่ยได้ 7.08 คะแนน จากคะแนน เต็ม 10 คะแนน คะแนนจากใบงาน นักเรียน ทั้งห้องทำคะแนนเฉลี่ยได้ 7.04 คะแนน จากคะแนน เต็ม 10 คะแนน จากคะแนนจาก แบบทดสอบวัดความรู้ นักเรียนทำคะแนนเฉลี่ยได้ 7.08 คะแนน จากคะแนน เต็ม 10 คะแนน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตารางที่ 2 การการ วิเคราะห์ผลคะแนน จากใบงานและ แบบทดสอบเรื่องการ ตรวจเช็คเครื่องยนต์ เบื้องต้นเรียนจากสื่อ ของจริง ( รถยนต์ )
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนจากใบงาน นักเรียน ทั้งห้องทำ ทำคะแนนเฉลี่ย ได้ 8.29 คะแนน จาก คะแนนเต็ม 10 คะแนน จากคะแนนจาก แบบทดสอบวัดความรู้ นักเรียนทำคะแนนเฉลี่ยได้ 8.88 คะแนน จากคะแนน เต็ม 10 คะแนน คะแนนจากใบงาน นักเรียน ทั้งห้องทำ ทำคะแนนเฉลี่ย ได้ 8.29 คะแนน จาก คะแนนเต็ม 10 คะแนน จากคะแนนจาก แบบทดสอบวัดความรู้ นักเรียนทำคะแนนเฉลี่ยได้ 8.88 คะแนน จากคะแนน เต็ม 10 คะแนน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตารางที่ 3 การวิเคราะห์และ เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์จากใบ งานและแบบทดสอบ ระหว่าง การเรียนแบบปกติ ในห้องเรียน และการเรียนจากสื่อ ของจริง ( รถยนต์ ) ตารางที่ 3 การวิเคราะห์และ เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์จากใบ งานและแบบทดสอบ ระหว่าง การเรียนแบบปกติ ในห้องเรียน และการเรียนจากสื่อ ของจริง ( รถยนต์ )
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าคะแนนเฉลี่ยจากการ เรียนแบบปกติในห้องเรียนได้ 7.06 คะแนน จากคะแนน เต็ม 10 คะแนน และนักเรียนทำคะแนนเฉลี่ย หลังเรียนจากสื่อรถยนต์ได้ 8.58 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน มีค่าเฉลี่ยรวมจากทั้งห้อง เพิ่มขึ้น 1.52 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ พบว่าคะแนนเฉลี่ยจากการ เรียนแบบปกติในห้องเรียนได้ 7.06 คะแนน จากคะแนน เต็ม 10 คะแนน และนักเรียนทำคะแนนเฉลี่ย หลังเรียนจากสื่อรถยนต์ได้ 8.58 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน มีค่าเฉลี่ยรวมจากทั้งห้อง เพิ่มขึ้น 1.52 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 15.21
คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบหลังเรียน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบก่อน เรียนจริง สรุปว่าผู้เรียนที่เรียนด้วยการสอนเรื่อง การใช้สื่อการสอนด้วยสื่อของจริง ( รถยนต์ ) แล้ว มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพิ่มขึ้น สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบหลังเรียน สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบก่อน เรียนจริง สรุปว่าผู้เรียนที่เรียนด้วยการสอนเรื่อง การใช้สื่อการสอนด้วยสื่อของจริง ( รถยนต์ ) แล้ว มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพิ่มขึ้น สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ สรุปผลการวิจัย
รูปภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การวิจัยในลักษณะนี้ มีข้อดีคือผู้เรียน เกิดความกระตือรือร้น ในการทำกิจกรรม แต่ก่อนที่ผู้เรียนจะได้ปฏิบัติควรศึกษา เรียนรู้ในด้านข้อควรระวังในการดูและ รักษาเครื่องยนต์เบื้องต้นก่อน เพราะ เครื่องยนต์อาจยังร้อน และอุปกรณ์ บางอย่างอาจมีอันตรายได้ จะต้องทำ ด้วยความระมัดระวัง ข้อเสนอแนะ
การเลือกวิธีการสอนและการใช้สื่อที่ หลากหลาย แปลกใหม่ และ นอกเหนือจากที่มีอยู่ในบทเรียน สามารถ นำมาทำการวิจัยเพื่อพัฒนากิจกรรมการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้ดียิ่งขึ้น และสามารถนำไประยุกต์ใช้ในทุก รายวิชา ข้อเสนอแนะ
จบการนำเสนอ