การส่งเสริมการป้องกัน สาธารณภัย โดย นายกอบชัย บุญอรณะ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย รักษา ราชการแทน ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการ ป้องกันสาธารณภัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฝ่ายกิจการนักศึกษา ขอเชิญร่วมชมและเชียร์การ แข่งขันกีฬาคณะศึกษาศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๗ ในวันที่ ๓๐ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๖. ๐๐ – ๑๙. ๐๐ น. และในวันที่ ๑ เมษายน.
Advertisements

ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ 4. บูรณาการความ ร่วมมือเครือข่าย อาสาสมัครและ อปท. ในพื้นที่เพื่อ การปฏิบัติงาน.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ ผู้รับบริการมีความพึง พอใจ ลดการใช้พลังงานของ.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงเกี่ยวกับ.
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มขีดความสามารถใน การ ป้องกันและลดผลกระทบ จากสาธารณภัย สำนักนโยบายป้องกันและ.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. อำนวยการปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัย และพื้นที่เกิดภัยขนาดใหญ่
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์
กิจกรรม การนำกองทุนฯ ไปใช้ประโยชน์ - ช่วยเหลือการบำบัดผู้เสพฯ ที่อยู่ในหมู่บ้าน / ชุมชน - กรรมการชุมชน... - ระเบียบชุมชน... ทุนปัญญา ทุนศรัทธา ทุนขวัญถุง.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
สรุป การเมืองการปกครองท้องถิ่น ไทย POL 341 ผศ. ดร. ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร คณะรัฐศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต.
ชุมชนปลอดภัย.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การจัดตั้งและการดำเนินงาน ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการเพิ่มศักยภาพด้านการตลาดผลิตภัณฑ์ไหมนครชัยบุรินทร์ในกลุ่มอาเซียน
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การบริหารจัดการอาสาสมัครสภากาชาดไทยแบบบูรณาการ
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
นโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยของประเทศ
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งเสริมการป้องกัน สาธารณภัย โดย นายกอบชัย บุญอรณะ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย รักษา ราชการแทน ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการ ป้องกันสาธารณภัย

การส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย ตามบทบาท / ภารกิจ ๑. สร้างความตระหนัก และความพร้อมด้านสา ธารณภัยให้แก่ประชาชน ชุมชน และองค์กรทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชน ๒. ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วม ของประชาชน ชุมชน และองค์กรทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ๓. จัดระบบการบริหารจัดการเครือข่าย อาสาสมัครสาธารณภัย ๔. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมาย

แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม ( การดำเนินการช่วงก่อนเกิดภัย ) ชุมชน / หมู่บ้าน และ ท้องถิ่น ชุมชน / หมู่บ้าน และ ท้องถิ่น ๑.โครงการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนด้านการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๑.โครงการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนด้านการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อให้เกิดการ จัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็น ฐาน (Community Based Disaster Risk Management : CBDRM) โดยชุมชน / หมู่บ้านตระหนักถึงความสำคัญ ของการมีส่วนร่วมในการจัดการ สา ธารณภัยในเบื้องต้นได้ด้วยตนเองก่อนที่หน่วยงาน ภายนอกเข้าไปให้ความช่วยเหลือ การเตรียมเครือข่ายด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย

๒. โครงการฝึกอบรมเครือข่ายอาสาสมัคร เตือนภัย “ มิสเตอร์เตือนภัย ” โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะคัดเลือก อาสาสมัครเข้ารับการฝึกอบรมหมู่บ้านละ ๒ คน และเมื่อผ่านการฝึกอบรมแล้ว จังหวัดจะออกคำสั่ง แต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นอาสาสมัครเตือนภัย “ มิสเตอร์เตือนภัย ” ในหมู่บ้านเสี่ยงภัย เพื่อปฏิบัติหน้าที่แจ้งเตือนภัยในระดับชุมชน / หมู่บ้าน เพื่อลดความเสี่ยง จากภัยพิบัติ

๓. โครงการศูนย์เตรียมพร้อมป้องกัน ภัยประจำชุมชน / หมู่บ้าน เป็นการต่อยอดจากโครงการเสริมสร้างศักยภาพ ชุมชนด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อให้โครงการมีการขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ อย่าง ต่อเนื่อง

๔. โครงการฝึกอบรมทบทวน คณะกรรมการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยชุมชน เป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาระบบการ ป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยในชุมชน และเกิด เครือข่ายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระหว่าง ชุมชน / หมู่บ้านในพื้นที่ และพื้นที่ข้างเคียง

เยาว ชน ๑.โครงการค่ายเยาวชนอาสาสมัครป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ๑.โครงการค่ายเยาวชนอาสาสมัครป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย เพื่อเสริมสร้าง ความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในการ ป้องกันภัยต่างๆ โดยอาศัยแนวคิดใน ลักษณะของการจัดกิจกรรมค่ายพักแรม

๒. โครงการฝึกอบรมเยาวชนขับขี่ ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจรและการ ป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียน ๒. โครงการฝึกอบรมเยาวชนขับขี่ ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจรและการ ป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียน เพื่อเสริมสร้าง จิตสำนึกในด้านวินัยจราจรและความ ปลอดภัยในโรงเรียน

๑. โครงการจัดงานวันป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ ๑. โครงการจัดงานวันป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ ใน วันที่ ๒๖ ธันวาคม ของทุกปี เนื่องจากเป็นวันที่เกิด ภัยพิบัติรุนแรงที่สุดของประเทศ ก่อให้เกิดความ สูญเสีย ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนทั้งใน ประเทศ และนานาชาติเป็นจำนวนมาก เพื่อ ก่อให้เกิดจิตสำนึกด้านความปลอดภัย (Safety Mind) และพัฒนาไปสู่วัฒนธรรมความ ปลอดภัย (Safety Culture) แก่ประชาชนใน ชาติ ทุกภาคส่วน

๒. โครงการรวมพลคนกู้ชีพกู้ภัย เพื่อคนไทยมี ความสุข ๒. โครงการรวมพลคนกู้ชีพกู้ภัย เพื่อคนไทยมี ความสุข เป็นการจัดกิจกรรม ในลักษณะบูรณา การอย่างมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ทหาร ตำรวจ พลเรือน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาสา สมัคกู้ชีพกู้ภัย องค์การสาธารณกุศล และ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ( อปพร.) ให้ได้ เห็นศักยภาพในการ บูรณาการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยที่เป็นระบบและมีมาตรฐานของ หน่วยงานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

๑.โครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพอาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ( อปพร.) ๑ ) โครงการประชุมชี้แจงนโยบายการปฏิบัติงาน แก่ อปพร. ๒ ) โครงการประกวดศูนย์ อปพร. ดีเด่น ๓ ) โครงการสัมมนาผู้นำ อปพร. ๔ ) โครงการประชุมประชาคม อปพร. ๕ ) โครงการฝึกอบรมเพิ่มศักยภาพ อปพร. (SAR) อาสาสมัคร

๒. โครงการฝึกอบรมเพิ่มศักยภาพทีมกู้ ชีพกู้ภัย ๒. โครงการฝึกอบรมเพิ่มศักยภาพทีมกู้ ชีพกู้ภัย การเพิ่มพูนทักษะ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ ความชำนาญในการกู้ภัยเฉพาะด้านที่ เป็นมาตรฐานสากลให้กับทีมกู้ชีพกู้ภัย

๓. โครงการฝึกอบรมการสร้างเครือข่าย แจ้งข่าวสารสาธารณภัยและจัดตั้ง อาสาสมัครป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัย ( อส. ปภ.) ๓. โครงการฝึกอบรมการสร้างเครือข่าย แจ้งข่าวสารสาธารณภัยและจัดตั้ง อาสาสมัครป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัย ( อส. ปภ.) เป็นการเตรียมความพร้อมรับ สถานการณ์ ก่อนเกิดภัย โดยการเพิ่มศักยภาพให้ ประชาชนในชุมชนพื้นที่เสี่ยงภัย

โครงการพัฒนาศักยภาพชุดเผชิญ สถานการณ์วิกฤต (Emergency Response Team : ERT) สู่ประชาคมอาเซียน สามารถปฏิบัติการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในกลุ่ม ประเทศอาเซียนและทั่วโลก ๑ ) โครงการพัฒนาศักยภาพชุดเผชิญ สถานการณ์วิกฤตด้านการค้นหาและกู้ภัยตาม มาตรฐานการปฏิบัติของนานาชาติ ๒ ) การฝึกอบรมหลักสูตร International Urban Search and Rescue Course ณ ประเทศ สิงคโปร์ ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพชุด เผชิญสถานการณ์ บุคลากรของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

การดำเนินการจะสำเร็จได้ต้อง อาศัย ๑ ) ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ๒ ) การมีส่วนร่วม เป็นเจ้าของ โครงการ / กิจกรรม ๓ ) ความรัก ความสามัคคี บทสรุป