โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
จุดความร้อน (Hotspot) วันที่ 1 ม. ค. – 30 เม. ย. 58 ที่มาข้อมูล : สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีภูมิอวกาศและสารสนเทศ (GISTDA)
จังหวัดจำนวนตำบล ( ตำบล ) ตำบลสีแดงตำบลสีส้ม เชียงใหม่ 934 เชียงราย -6 ลำพูน 210 ลำปาง 732 แพร่ 411 น่าน 613 พะเยา 17 แม่ฮ่องสอน 1323 ตาก 619 อุตรดิตถ์ 414 รวมทั้งสิ้น ที่มาข้อมูล : สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีภูมิอวกาศและสารสนเทศ (GISTDA) พื้นที่เผาไหม้ พื้นที่เผาไม้ 18,005, 316 ไร่ – พื้นที่เกษตร ( นอกป่า ) 1,830,542 ไร่ (10.17% ของพื้นที่เผาไหม้ทั้งหมด ) ข้อมูล วันที่ 1 ม. ค. – 30 เม. ย. 58 หมายเหตุ : 1. ตำบลสีแดง - พื้นที่เผา > 87,000 ไร่ 2. ตำบลสีส้ม - ( พื้นที่เผา > 25,001 – 87,000 ไร่
การถ่ายทอดความรู้ พื้นที่นำร่อง พื้นที่ขยายผล กลุ่มเดิม 15 กลุ่ม (400 ราย / จังหวัด ) กลุ่มใหม่ 2 ตำบล (400 ราย / จังหวัด ) อบรม สาธิต ดูงาน ( เพิ่มเติม ความรู้ ) จัดเวที – สรุปผล / ถอดบทเรียน / ทบทวน - จัดทำแผนชุมชน / ให้ สัตยาบันหยุดเผา ถ่ายทอดความรู้สู่เกษตรกรอื่น อบรม สาธิต ดูงาน จัดเวที – สรุปผล / ถอดบทเรียน / ให้สัตยาบันหยุดเผา ถ่ายทอดความรู้สู่เกษตรกรอื่น อบรม สาธิต ดูงาน จัดเวที – สรุปผล / ถอดบทเรียน / ให้สัตยาบันหยุดเผา จัดเวที – จัดกระบวนการเรียนรู้ ทำแผนชุมชน ( โครงการ ชุมชน ) ถ่ายทอดความรู้สู่เกษตรกรอื่น บุคคลเป้าหมายเน้นหนัก : อกม./ คณะกรรมการ ศบกต./ เกษตรกรผู้นำ หลักสูตร 1 ถ่ายทอดความรู้ & พัฒนาศักยภาพเกษตรกร ( สมาชิก + วิทยากร ) – ข้อ 4.2 (2) หน้า 1-2 ผลกระทบจากการเผา ทางเลือกในการ แก้ปัญหา / เทคโนโลยีการเกษตร ปลอดการเผา การทำการเกษตรปลอด การเผา บูรณาการ กับโครงการ ที่เกี่ยวข้อง
การถ่ายทอดความรู้ หลักสูตร 2 สร้างและพัฒนาศักยภาพ วิทยากร ด้านการทำการเกษตรปลอด การเผา – ข้อ 4.2 (4) หน้า 3 เป้าหมาย : (1) กลุ่มเดิม – 30 ราย / จังหวัด (2 ราย x 15 กลุ่ม ) (2) กลุ่มใหม่ – 40 ราย / จังหวัด (20 ราย x 2 แห่ง ) พัฒนาทักษะการเป็น วิทยากร ถ่ายทอดเป็น พูดได้ตรง ประเด็น สื่อสารแม่นยำ ถูกหลัก วิชาการ โน้มน้าวผู้อื่นได้ ประกาศรับรองวิทยากรฯ จัดงานมอบโล่ห์หรือมอบ ประกาศนียบัตร แจ้งเวียนหน่วยงาน ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกใน ชุมชนรับรู้
การถ่ายทอดความรู้ เป้าหมายการดำเนินงาน - ถ่ายทอดความรู้
สร้างชุมชนเกษตรปลอดการเผา จัดตั้งชุมชนเกษตรกรปลอดการเผาต้นแบบ ( พื้นที่นำร่อง ) สำรวจ & จัดทำข้อมูล ปัญหาฯ + วิเคราะห์ ความพร้อมชุมชน จัดกระบวนการเรียนรู้ (4 ครั้ง ) คัดเลือก & แต่งตั้งผู้แทน เพื่อบริหารจัดการ จัดทำ & พัฒนาสื่อ เพื่อการเรียนรู้ ( เทคโนโลยี + ผลงาน ) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ & เชื่อมโยงการทำงานเพื่อ สนับสนุนการแก้ไขปัญหาฯ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์การ ดำเนินงาน ประสานความร่วมมือ & บูรณาการ การทำงานกับทุกภาคส่วน เฝ้าระวัง & แก้ไข ปัญหาการเผาในช่วง วิกฤต แผนชุมชนระดับตำบล / โครงการ แก้ไขปัญหาการเผา ขับเคลื่อน ด้วยกลไก ศบกต. - เสนอแผนชุมชนเข้าสู่เวทีประชาคม ระดับตำบล - บูรณาการร่วมกับแผนพัฒนาท้องถิ่น - เสนอของบประมาณดำเนินการ Model การแก้ไขปัญหาการเผาใน พื้นที่การเกษตร ถอดบทเรียน ชุมชนต้นแบบ 20 แห่ง (2 แห่ง / จังหวัด ) ไม่มี Hotspot ในพื้นที่เกษตร ลดการเผาในพื้นที่ การเกษตร > 35,000 ไร่ (3,500 ไร่ / จังหวัด ) ประกวดชุมชนเกษตรปลอดการ เผาดีเด่น
แผนปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัด (KPI) คน : เกษตรกร 14,090 ราย มีความรู้ ความเข้าใจ ชุมชน : ชุมชนเกษตรปลอดการเผา ต้นแบบ ( ไม่มี Hotspot ในพื้นที่ เกษตร ) พื้นที่ : พื้นที่เกษตรปลอดการ เผา > 35,000 ไร่
การรายงานผล รายละเอียดแบบรายงานที่ต้องจัดส่งกรมฯ แบบรายงานที่ไม่ต้องจัดส่ง กรมฯ กำหนดการจัดส่ง ผลการดำเนินงานโครงการ 1. พื้นที่นำร่อง 1.1 กลุ่มเดิม (15 กลุ่ม / จังหวัด ) - แบบ 3 สรุปผลการสำรวจ - 15 พ. ค แบบ 7 โครงการชุมชน / แผนชุมชน - 1 มี. ค กลุ่มใหม่ (2 ตำบล / จังหวัด ) - แบบ 1 สัตยาบัน / รายชื่อสมาชิก - แบบ 4 บันทึกผลการสำรวจ ( เกษตรกร ) - 1 มี. ค 59 - แบบ 2 รายชื่อวิทยากร - 1 มี. ค 59 - แบบ 3 สรุปผลการสำรวจ - 15 พ. ค แบบ 5 รายงานข้อมูลพื้นฐานและสภาพปัญหาการ เผา - 1 มี. ค 59 - แบบ 6 รายงานผลการดำเนินงานชุมชนเกษตร ปลอดการเผา - 15 พ. ค แบบ 7 โครงการชุมชน / แผนชุมชน - 15 พ. ค พื้นทีขยายผล - แบบ 1 สัตยาบัน / รายชื่อสมาชิก - 15 พ. ค แบบ 7 โครงการชุมชน / แผนชุมชน - 15 พ. ค. 59 แผนการดำเนินงานโครงการ 1. พื้นที่นำร่อง / พื้นที่ขยายผล - แบบ 8 แผนการปฏิบัติงาน - วันที่ 18 พ. ย. 58 ( ครั้งที่ 1) - ทุกเดือน ( ตั้งแต่เริ่มดำเนินงาน – สิ้นสุดโครงการ ) - แบบ 9 สรุปผลการปฏิบัติงานและใช้จ่ายงบประมาณ