บทบาทของศูนย์บริหารงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน นพ. อนุรักษ์ อมรเพชรสถาพร สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน
กลุ่มงาน เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 1) Pre-hospital care & Disaster 2) Refer 3) ER 4) T& E Admin Unit 5) งานวิชาการ 6) งานธุรการ
แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ต้นสังกัด ปัจจุบัน ทุน 59 ปี1 ปี2 ปี3 รวม รวมทั้งหมด สป. 166 60/70 56 39 151 317 กรมใน สธ. 13 14 27 รพ.รัฐอื่น 115 11 15 9 35 150 อิสระ/เอกชน 242 36 37 40 113 355 ลาออก 2 3 5 536 109/114 117 110 91 318 854 สบพช./สมาคมแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย
ด้านการบริหารจัดการ มี Trauma Emergency admin unit ใน รพ.ระดับ M1 S และ A ทุกแห่ง กลุ่มงาน สาธารณสุขฉุกเฉิน ใน สสจ. รับผิดชอบงานอุบัติเหตุ ฉุกเฉินและสาธารณภัย มีศูนย์ EOC และ ICS กรณีอุบัติเหตุจราจรระดับส่วนกลาง ระดับเขต จังหวัด และอำเภอ
Finance&Admin. Section Public information officer -รับฟังข่าวสารจากสื่อต่างๆและจัดทำสรุปข่าวแสดงข่าวสารเกี่ยวกับเหตุการณ์เป็นระยะๆ -จัดทำและให้ข้อมูลเหตุการณ์ข่าวสารไปยังสื่อมวลชน,เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการและหน่วยงานต่างๆที่เหมาะสม Incident Commander -มอบหมายหน้าที่และภารกิจตามโครงสร้าง ICS -กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการบัญชาการเหตุการณ์ -ติดตามสถานการณ์และแก้ไขปัญหา .บริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ -ประสานระดับนโยบายกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายนอก -ตัดสินใจยกระดับ-ลดระดับ และสั่งการหน่วยย่อยในระบบ ICS -เสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ทีม Liaison -เป็นจุดติดต่อประสานงานของตัวแทนจากหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือและหน่วยงานที่ให้ความร่วมมือ ตลอดจนกลุ่มผู้มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่างๆ Safety officer -ให้คำแนะนำเรื่องด้านความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานและทรัพย์สิน Operation Section Planning Section Logistic Section Finance&Admin. Section -ดำเนินการปฏิบัติการตามแผนเผชิญเหตุ(Incident Action Plan: IAP) เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ของการตอบโต้เหตุ -จัดสรรและกำกับดูแลทรัพยากรในการตอบโต้เหตุ เช่น ทีมปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล (ALS, BLS, FR, SRRT) Situation Unit -รวบรวมและประเมินผลสถานการณ์ -จัดทำรายงานและแสดงสถานการณ์ Documentation Unit -จัดทำแผนเผชิญเหตุ(Incident Action Plan: IAP) Resource &Human Unit -ติดตามและรักษาสถานะของทรัพยากรทั้งคนและของ Service Branch Medical Unit -รักษาพยาบาลทีมปฏิบัติการที่กำลังปฏิบัติงาน Communication Unit -จัดทำแผนการสื่อสาร/แจกจ่ายอุปกรณ์/วิธีการสื่อสาร -จัดตั้งศูนย์สื่อสาร Food Unit -จัดหาอาหารและน้ำดื่มสำหรับทีมปฏิบัติการ Cost Unit Time Unit Compensation Claims Unit Procurement Unit -ติดตามตรวจสอบค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน -รวบรวมเอกสารข้อมูลค่าใช้จ่ายทั้งหมดและประมาณการค่าใช้จ่าย -บันทึกเวลาปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ -ดำเนินการเช่าเครื่องมือ/อุปกรณ์ และบันทึกเวลาการใช้ -บันทึกข้อมูลการได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับเหตุฉุกเฉินเพื่อดำเนินการเกี่ยวกับค่าชดเชย -ดำเนินการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนกรณีทรัพย์สินเสียหาย Public health emergency operations centre Q: What about the public health emergency operations centre..? a. Describe the affiliation of PHEOC, operation status (permanent, or temporary, or other), staffing… b. Describe key functions Command and coordination Type of emergencies dealing with Planning and information system, including surveillance and early warning system Operation team Communication; i.e. for internal communication and coordination and for the public (risk communication) Logistics support Finance and administration Support Branch Supply Unit -จัดซื้อและจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ ยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา -ระดมกำลังเจ้าหน้าที่เข้าปฏิบัติงานในระบบ ICS Facility Unit -จัดตั้งสถานที่ในการสนับสนุนการปฏิบัติการตอบโต้เหตุ เช่น ฐานปฏิบัติการ ที่พัก Transport -อำนวยความสะดวกด้านการขนส่งและจัดหาเชื้อเพลิงสำหรับยานพาหนะ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กรมควบคุมโรค ผู้บัญชาการเหตุการณ์ ผู้บัญชาการ situation ฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์ SA & ยุทธศาสตร์ ภารกิจ แนวทางการปฏิบัติ การสั่งการ ข้อมูล ผู้ปฏิบัติ Operation สื่อสารความเสี่ยง Case Management PoE หน่วยสนับสนุน Stockpiling | กฎหมาย | การเงินและงบประมาณ | กำลังคน Liaison
ทีมสื่อสารความเสี่ยง Finance/Admin Section ICS Organizational Chart Incident Command Liaison ทีมยุทธศาสตร์ ทีมเฝ้าระวัง ทีมสื่อสารความเสี่ยง Operations Section Logistics Section Finance/Admin Section การเงินและงบประมาณ Case Management Stockpiling กำลังคน กฎหมาย PoE
การจัดระบบ EOC 1 เดือน เปิด VDO conference ก่อนเทศกาล conf. ทุก 3 เดือน เพื่อติดตามสถานการณ์ 3 เดือน มีจัดตั้งการบัญชาการ (ICS) สำหรับกรณีอุบัติเหตุจราจรในทุกระดับ (เขต/จังหวัด) ทุกจังหวัดมีการประชุม EOC ทุกเดือน (activate ICS บางกล่อง) ประชุมชี้แจงผู้บริหารเขต จังหวัด 1 ครั้ง 6 เดือน ซ้อมทำ table top exercise EOC และระบบ ICS ทุกจังหวัด 9 เดือน ซ้อม Table top และ functional exercise ระดับเขตทุกเขต
ด้านการจัดการข้อมูล 3 เดือน ได้ชุดข้อมูลที่จำเป็น (Core data set) จาก 3 ฐาน (ตำรวจ บริษัทกลาง และสาธารณสุข) ทดลองใช้บางพื้นที่ 6 เดือน ทุก รพ.กรอกข้อมูลที่จำเป็น (Core data set) รายงานผลวิเคราะห์ข้อมูล จังหวัดหรืออำเภอมีการนำผลวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ เช่น เพื่อการจัดการจุดเสี่ยง
ด้านการป้องกัน ชี้เป้าและแก้ไข 5 ปัญหาหรือ 5 จุดเสี่ยง/จังหวัดทุก 3 เดือน การดำเนินงานมาตรการชุมชนผ่านระบบสุขภาพอำเภอ ( DHS) การตั้งด่านชุมชน มีมาตรการองค์กร เพื่อกำกับควบคุมพฤติกรรมเสี่ยง หมวก เมา ความเร็ว เข็มขัด
ด้านการรักษาพยาบาล 3 เดือน ทุกจังหวัดใช้โปรแกรมการส่งต่อผ่านเว็บไซต์ เช่น Thai refer ทุกจังหวัดมีระบบ Trauma fast tract รพศ./รพท. จัดตั้งหน่วย trauma & emergency admin unit ทุกแห่ง 6 เดือน จัดทำ Trauma audit เพื่อทบทวนการรักษากรณี preventable death (PS มากกว่า 0.75) 9 เดือน ตั้งเกณฑ์การรักษาเพื่อพัฒนาคุณภาพภายใน รพศ. เช่น กรณีคนบาดเจ็บที่วิกฤติควรได้รับการส่งจาก ER ไป OR และผ่าตัดใน 60 นาที (door to OR)
EMS 3 เดือน เพิ่มปริมาณการนำส่งคนไข้อุบัติเหตุจราจรโดยระบบ EMS/1669 6 เดือน เพิ่มคุณภาพการนำส่งคนไข้อุบัติเหตุจราจรขั้นวิกฤต (สีแดง) ต้องถูกนำส่งโดยรถ ACLS ระดับสูง 12 เดือน คนไข้อุบัติเหตุจราจรขั้นวิกฤต (สีแดง) ต้องถูกนำส่งโดยรถ ACLS ระดับสูง จำนวนไม่น้อย กว่า 85%