โดย นายแพทย์สุเทพ วัชรปิยานันทน์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 12 ประธานคณะกรรมการ กำหนดแผนและติดตามผลการตรวจราชการ ด้านพัฒนาระบบบริหารจัดการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายแพทย์สุเทพ วัชรปิยานันทน์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 12 ประธานคณะกรรมการ กำหนดแผนและติดตามผลการตรวจราชการ ด้านพัฒนาระบบบริหารจัดการ

1. การบริหารการเงินการคลัง 2. การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา 3. การพัฒนาบุคลากร 4. ระบบธรรมาภิบาล 4.1 การเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรของหน่วยงาน ให้มีวินัย และป้องกัน การกระทำผิดวินัย 4.2 การตรวจสอบภายใน 4.3 หน่วยงานคุณธรรม หัวข้อตรวจราชการ 2

1. กลุ่มประกันสุขภาพ 2. สำนักบริหารการสาธารณสุข 3. สถาบันพระบรมราชชนก 4. กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม 5. กลุ่มตรวจสอบภายใน 3

1.สถานการณ์ 2.เป้าหมายความสำเร็จ / พื้นที่ดำเนินการ 3.ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 4.มาตรการดำเนินการที่สำคัญ 5.แนวทางการตรวจติดตาม 4

5

1. การบริหารการเงินการคลัง เป้าหมายผลสำเร็จ : ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหา ทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ เกณฑ์เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 10 6 สถานการณ์  ข้อมูลการเงินการคลังถูกนำไปใช้ประโยชน์ ด้านการจัดสรร+ปรับเกลี่ยเงิน uc /ให้ความ ช่วยเหลือรพ.ที่ประสบปัญหาทางการเงิน / เป็น เครื่องมือในการวางแผนการดำเนินงาน, ติดตาม กำกับสถานะทางการเงิน ฯลฯ  ปัญหารพ.ขาดสภาพคล่อง,ประสบภาวะวิกฤติทาง การเงินยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง

 1. มีคณะทำงานและกลไกในการแก้ไขปัญหาการเงิน  2. หน่วยบริการมีและใช้ แผนทางการเงิน (Planfin)  3. หน่วยบริการมีการจัดทำและใช้ต้นทุนบริการ (Unitcost)  4. หน่วยบริการมีการพัฒนาระบบการประเมิน ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง FAI พื้นที่ดำเนินการ  หน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. ระดับ รพศ. รพท. และ รพช.ทุกแห่ง 7

มาตรการดำเนินงานแนวทางการตรวจติดตาม 1.มีคณะทำงานและกลไกการ ทำงานร่วม เพื่อแก้ไขปัญหาใน พื้นที่ สำหรับ รพ.ที่มีปัญหา การเงิน 1) คณะทำงานร่วมในระดับเขต จังหวัด อำเภอ เพื่อแก้ไขปัญหาและ พัฒนาการบริการและประสิทธิภาพ การเงินการคลังให้กับ รพ. ที่มีปัญหา ทางการเงิน 2)มีการกำหนดประเด็นที่เป็นปัญหา ของหน่วยบริการที่ต้องได้รับการ แก้ไข 2.หน่วยบริการ "มี" และ "ใช้“ แผนทางการเงิน Planfin เพื่อ เป็นเครื่องมือในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน การคลังหน่วยบริการ 1) หน่วยบริการ ได้มีการจัดทำแผน ทางการเงิน (Plan fin) และใช้แผน ทางการเงินเป็นเครื่องมือในการ พัฒนาระบบการเงินและระบบบริการ ที่มีประสิทธิภาพ 2) ติดตามกำกับผลการดำเนินงาน ทุกไตรมาส 8

มาตรการดำเนินงานแนวทางการตรวจติดตาม 3. หน่วยบริการมีการพัฒนา การจัดทำต้นทุนบริการ / Unit cost เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ทางการบริหาร 1) มีการพัฒนาการจัดทำต้นทุนของ หน่วยบริการ โดยใช้ข้อมูลของ ปี ) มีการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูล ต้นทุนบริการกับค่าเฉลี่ยของหน่วย บริการระดับเดียวกัน 4. มีการพัฒนาระบบ การประเมินประสิทธิภาพ การบริหารการเงินการคลัง FAI 1) ติดตามการดำเนินงานตาม กิจกรรมทั้ง 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) การพัฒนาระบบควบคุมภายใน 2) การพัฒนาคุณภาพบัญชี 3) การเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารการเงินการคลัง 4) การพัฒนาการจัดทำต้นทุน บริการ 9

10

11 สถานการณ์/วัตถุประสงค์  เป็นการพัฒนาประสิทธิภาพของโรงพยาบาล  เป็นการติดตามการปฏิบัติงาน ความก้าวหน้า การดำเนินงานตามนโยบายการสร้างธรรมาภิบาล ในการจัดซื้อ จัดหายาและเวชภัณฑ์  วิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จ หรือ อุปสรรคในกระบวนการดำเนินการ,ผลลัพธ์

ประเด็นตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1.การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการยา และเวชภัณฑ์ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ การสั่งใช้และการใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาอย่าง สมเหตุผล 3.จริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อจัดหาและการส่งเสริม การขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 12

มาตรการดำเนินงานแนวทางการตรวจติดตาม 1.มีการพัฒนาประสิทธิภาพ ระบบการบริหารจัดการยา และเวชภัณฑ์ตามระเบียบ กระทรวงสาธารณสุขว่าด้วย การบริหารจัดการยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ )การบริหารจัดการโดยคณะ กรรมการบริหารจัดการด้านยา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 2) แผนจัดซื้อจัดจ้าง ยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 3) การดำเนินการจัดซื้อตาม ระเบียบฯ พัสดุ 4) การรายงาน และประเมินผล การดำเนินงานตามลำดับชั้น ในเวลาที่กำหนด หน่วยบริการในสังกัดสป.สธ. (รพศ./ รพท. รพช.) พื้นที่ดำเนินการ

มาตรการดำเนินงานแนวทางการตรวจติดตาม 2.มีการสั่งใช้และการใช้ยา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา อย่างสมเหตุผล 1) นโยบายและระบบการกำกับ ประเมินการใช้ยา และเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยา (Utilization Evaluation) 2) นโยบายและระบบการกำกับการ ป้องกันและควบคุมเชื้อดื้อยาต้าน จุลชีพ (AMR) และการใช้ยา ปฏิชีวนะอย่างเหมาะสม 3. มีการปฏิบัติตามเกณฑ์ จริยธรรมว่าด้วย การจัดซื้อจัดหาและ การส่งเสริมการขายยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 1) แนวปฏิบัติและกลไกการกำกับ การปฏิบัติตามเกณฑ์จริยธรรม 2) การรายงาน และประเมินผลการ ปฏิบัติที่สัมพันธ์กับการส่งเสริม การขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 14

ผลลัพธ์ที่ต้องการ (รพศ. รพท. รพช.) 3 เดือน6 เดือน9 เดือน12 เดือน 1.แต่งตั้ง/ปรับปรุงคำสั่ง แต่งตั้งคกก.ที่เกี่ยวข้อง 2.นโยบาย+เป้าหมาย การดำเนินงานตาม มาตรการ 3.จัดทำและขออนุมัติแผน จัดซื้อจัดจ้าง ยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 4.คู่มือ/แนวทางการใช้ยา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา การส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ 5.แนวปฏิบัติและกลไก การกำกับการปฏิบัติ ตามเกณฑ์จริยธรรม 6.รายงานผล การดำเนินงาน 1.รายงาน ผลการ ดำเนิน งาน 1.รายงาน ผลการ ดำเนิน งาน 1.รายงานผล การดำเนินงาน 2.ประเมินผล การดำเนินงาน 15

มาตรการดำเนินงานแนวทางการตรวจติดตาม 1.กำกับติดตามและสนับสนุน การพัฒนาประสิทธิภาพการ บริหารจัดการยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาระดับ จังหวัด 1) การบริหารจัดการโดย คกก.บริหาร จัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ ยา ระดับจังหวัด 2) กรอบและบัญชีรายการยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่สอดคล้องและ ลดหลั่นตามระดับ สถานบริการ 3) แผนการสำรองร่วม/การจัดคลังร่วม 4) การจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ที่ มิใช่ยา 5) รายงานและประเมินผลการ ดำเนินงานตามลำดับชั้น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 16

ผลลัพธ์ที่ต้องการ (สสจ.) 3 เดือน6 เดือน9 เดือน12 เดือน 1.แต่งตั้ง/ปรับปรุง คำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการที่ เกี่ยวข้อง 2.นโยบายและ เป้าหมายการ ดำเนินงานตาม มาตรการ 3.แผนการสำรอง ร่วม/คลังร่วม 1.กรอบและ บัญชีรายการ ยาและ เวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยา 2.แผน ดำเนินการ จัดซื้อร่วม 1.รายงาน ผลการ จัดซื้อ ร่วม 1.รายงาน ผลการ ดำเนินงาน 2.ประเมิน ผลการ ดำเนินงาน 17

มาตรการดำเนินงานแนวทางการตรวจติดตาม 1.กำกับติดตามและสนับสนุน การพัฒนาประสิทธิภาพการ บริหารจัดการยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาระดับเขต 2.จัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยาในภาพรวมของเขต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของ มูลค่าการจัดซื้อยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาทั้งหมด 1) การบริหารจัดการโดยคณะ กรรมการบริหารจัดการด้าน ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ระดับเขต 2) การจัดซื้อร่วมยาและ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา เขตสุขภาพ 18

ผลลัพธ์ที่ต้องการ ( ผลลัพธ์ที่ต้องการ (เขตสุขภาพ) 3 เดือน6 เดือน9 เดือน12 เดือน 1.แต่งตั้ง/ปรับปรุง คำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการที่ เกี่ยวข้อง 2.นโยบายและ เป้าหมายการ ดำเนินงานตาม มาตรการ 1.แผน ดำเนินการ จัดซื้อร่วม 1.รายงาน ผลการ จัดซื้อร่วม 1.รายงาน ผลการ ดำเนินงาน 2.สรุป ประเมิน ผลการ ดำเนินงาน 19

20

21 สถานการณ์ 1.การพัฒนาบุคลากร(สป.สธ.) ขาดการมีส่วนร่วมจาก หน่วยงานของเขตสุขภาพ เพื่อจัดทำแผนกำลังคนให้ สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบและความจำเป็น 2.หลักสูตรการฝึกอบรมมีลักษณะเป็น Supply Driven ขาดกลไกและการประสานความร่วมมือระหว่างผู้ใช้ (Demand) กับผู้ผลิต (Supply) 3. มุ่งให้ความสำคัญกับการพัฒนาความรู้ ความเชี่ยวชาญ ของบุคลากรสายวิชาชีพมากกว่า 4. ขาดข้อมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับการพัฒนากำลังคนเป้าหมายความสำเร็จ ร้อยละของจังหวัดในเขตสุขภาพที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากร (ร้อยละ 70)

คำนิยาม การพัฒนาบุคลากร หมายถึง กระบวนการเพิ่มขีดความสามารถในการทำงาน ให้กับบุคลากรของหน่วยงานด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้บุคลากร  สายวิชาชีพด้านสุขภาพ (Heath professional) และ  สายสนับสนุนบริการสุขภาพ (Allied Health and Supportive Staff) ได้รับการพัฒนาแล้วปฏิบัติงานได้ผลตามวัตถุประสงค์ ของหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพยกเว้นการศึกษาต่อ ที่เป็นการเพิ่มคุณวุฒิ 22

เกณฑ์คุณภาพ : การบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากร หมายถึง ข้อกำหนด /แนวทาง/ขั้นตอนในการ ดำเนินการการพัฒนาบุคลากร ที่จะทำให้ หน่วยงานระดับจังหวัดสามารถนำไปปฏิบัติได้ อย่างเป็นระบบ เกิดผลลัพธ์ที่ชัดเจน วัดผลได้ ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 23

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากร ขั้นตอนที่ 1 กำหนดโครงสร้างและผู้รับผิดชอบการพัฒนา บุคลากรของจังหวัด ให้ชัดเจน และมีคณะกรรมการพัฒนา บุคลากรของจังหวัด ซึ่งมีองค์ประกอบจากหน่วยงานทุกระดับ ภายในจังหวัด ดำเนินการค้นหาจุดแข็งและโอกาสการพัฒนา ของบุคลากร 1.1 คณะกรรมการพัฒนาบุคลากรของจังหวัดมีองค์ประกอบของ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ 1.2 คณะกรรมการฯ ร่วมดำเนินการค้นหาจุดแข็งและโอกาสของ การบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากร(SWOT Analysis) วิเคราะห์ (Need Assessment) เช่น นโยบายด้าน HRD ของเขตสุขภาพ แผนกำลังคนของเขตสุขภาพ ปัญหาการจัดบริการสุขภาพ ปัญหา การบริหารจัดการ เป็นต้น 24

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากร ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร อย่างมีคุณภาพ ครอบคลุมสถานบริการทุกระดับ ทุกกลุ่มเป้าหมาย (สายบริหาร สายวิชาชีพ และ สายสนับสนุน) และดำเนินการพัฒนาบุคลากร 2.1 แผนพัฒนาบุคลากรและแผนจัดสรรงบประมาณ ด้านการพัฒนาบุคลากร และนำแผนฯ สู่การปฏิบัติ 2.2 ผลการพัฒนาบุคลากรตามแผนฯ 25

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากร ขั้นตอนที่ 3 พัฒนาและจัดเก็บข้อมูล การพัฒนา บุคลากรอย่างเป็นระบบ สามารถนำมาใช้ในการ ตัดสินใจเชิงบริหารด้านการพัฒนาบุคลากร 3.1 มีข้อมูลและระบบจัดเก็บข้อมูลการพัฒนาบุคลากรที่ สามารถวิเคราะห์ได้ตามรายสถานบริการ/รายวิชาชีพ/ รายสาขาตามแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 12 สาขา 3.2 มีข้อมูลผลการใช้จ่ายงบประมาณเมื่อเทียบกับค่า เป้าหมายของแผนการพัฒนาบุคลากรของจังหวัด (คงเหลือ/ผูกพัน/คืน) /ปัญหา/อุปสรรคการใช้จ่าย งบประมาณ 26

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากร ขั้นตอนที่ 4 จัดระบบและกลไกการสนับสนุนให้เกิด การพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ 4.1 แผนการติดตามผลการพัฒนาบุคลากร และนิเทศ หน่วยงานในจังหวัด 4.2 จังหวัดได้พัฒนาศักยภาพทีมงาน/ผู้รับผิดชอบการ พัฒนาบุคลากรของหน่วยงานทุกระดับด้านองค์ความรู้ด้าน บริหารจัดการกำลังคน/ด้านพัฒนาบุคลากร 4.3 สนับสนุนข้อมูลต่างให้กับสถานบริการทุกระดับ เช่น สถานการณ์กำลังคนของจังหวัด นโยบายด้าน HRD ของ เขตสุขภาพ ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ปัญหาการบริหาร จัดการกำลังคนในพื้นที่ 27

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากร ขั้นตอนที่ 5 สรุปรายงานผลนำสู่การปรับปรุงระบบ กลไก ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ข้อเสนอแนะการ พัฒนาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพในทุกระดับ(จังหวัด เขตสุขภาพ และภาพรวมระดับประเทศ) 5.1 เอกสารสรุปผลการพัฒนาบุคลากรของ จังหวัด 5.2 แผนปรับปรุงการบริหารจัดการการพัฒนา บุคลากรของจังหวัดรวมทั้งข้อเสนอแนะ เชิงนโยบายเพื่อการปรับปรุงระดับจังหวัด/เขต สุขภาพ/ประเทศ ประเทศ 28

ประเด็นตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1. การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรโดยการมีส่วน ร่วมจากพื้นที่ (Integrate & Participation) ครอบคลุมปัญหาทั้งด้านบริหาร บริการและ สนับสนุน 2. กลไกและระบบสนับสนุนที่ส่งผลให้การพัฒนา บุคลากรมีประสิทธิภาพเกิดผลสัมฤทธิ์ตาม เป้าหมายที่กำหนดไว้ (System : Input, Process, output/ outcome, Feedback) 3. การกำกับ ติดตามการบริหารจัดการ การพัฒนาบุคลากรของจังหวัด 29

ประเด็นฯที่ 1 การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร โดยการมีส่วนร่วมจากพื้นที่ (Integrate & Participation) ครอบคลุมปัญหาทั้งด้านบริหาร บริการและ สนับสนุน ประเด็นการตรวจติดตาม 1.องค์ประกอบของคณะกรรมการ 2. การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของการบริหารจัดการ การพัฒนาบุคลากร (SWOT Analysis) 3. การวิเคราะห์(Need Assessment) 4. แผนพัฒนาบุคลากรครอบคลุมสถานบริการทุก ระดับและทุกกลุ่มเป้าหมาย (สายบริหาร /วิชาชีพ/สนับสนุน) เกณฑ์ขั้นตอนที่

ประเด็นฯที่ 2 กลไกและระบบสนับสนุน ที่ส่งผลให้การพัฒนาบุคลากรมีระสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายที่กำหนด ประเด็นการตรวจติดตาม 2.1 การถ่ายทอดแนวทางการบริหารจัดการ การพัฒนาบุคลากร 2.2 การพัฒนาศักยภาพทีมงาน/ผู้รับผิดชอบ การพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานทุกระดับ 2.3 การสนับสนุนข้อมูลให้กับสถานบริการทุกระดับ 2.4 แผนการจัดสรรงบประมาณด้านการพัฒนา บุคลากรของจังหวัด เกณฑ์ขั้นตอนที่

ประเด็นฯที่ 3 กำกับ ติดตามการบริหารจัดการการ พัฒนาบุคลากรของจังหวัด ประเด็นการตรวจติดตาม 1.แผนการติดตามผลการพัฒนาบุคลากร/นิเทศหน่วยงานในจังหวัด 2.จำนวนครั้ง และสาเหตุที่จังหวัดปรับเปลี่ยนแผนฯ 3.ผลการพัฒนาบุคลากรเมื่อเทียบกับค่าเป้าหมายของแผนฯ 4.ผลการใช้จ่ายงบประมาณเมื่อเทียบกับค่าเป้าหมายของแผนฯ (คงเหลือ/ผูกพัน/คืน) 5.แผนปรับปรุงการบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากรของจังหวัด 6.จำนวนโครงการ/หลักสูตรที่ได้จัดฝึกอบรมให้กับบุคลากรของ จังหวัด/เขตสุขภาพ 7.จำนวน/โครงการ/หลักสูตรฝึกอบรมที่ใช้วิทยากรของจังหวัด ดำเนินการฝึกอบรมให้กับบุคลากร เกณฑ์ขั้นตอนที่

ผลลัพธ์ที่ต้องการ(QUICK Win) 3 เดือน6 เดือน9 เดือน12 เดือน 1. ผลการวิเคราะห์ SWOT Analysis /Need Assessment ของจังหวัด สอดคล้องSP/แผน กำลังคนของเขตฯ 2. แผนพัฒนา บุคลากรของจังหวัด ที่มีคุณภาพ 3. แผนจัดสรร งบประมาณด้านการ พัฒนาบุคลากรของ จังหวัด 4. แผนการติดตาม และนิเทศหน่วยงาน ในจังหวัด 1.ผลการพัฒนา บุคลากรเมื่อ เทียบกับค่า เป้าหมาย 2.ผลการใช้จ่าย งบประมาณเมื่อ เทียบกับค่า เป้าหมาย (คงเหลือ/ ผูกพัน/คืน) 1.ผลการพัฒนา บุคลากรรายสถาน บริการ/ราย วิชาชีพ/รายสาขา ตาม Service Plan 2.ผลการใช้จ่าย งบประมาณเมื่อ เทียบกับค่า เป้าหมาย ( คงเหลือ / ผูกพัน/ คืน) 3.ปัญหา/อุปสรรค การใช้จ่ายงบ 1. เอกสารสรุปผลการ พัฒนาบุคลากรขง จังหวัด 2. แผนปรับปรุงการ บริหารจัดการการ พัฒนาบุคลากรของ จังหวัด 3. รวมทั้งข้อเสนอแนะ เชิงนโยบายเพื่อ การปรับปรุง 4. ระดับประเทศ ขั้นตอนที่ 1 ทุกจังหวัด ขั้นตอนที่ 2 ทุกจังหวัด ขั้นตอนที่ 3-4 ทุกจังหวัด ขั้นตอนที่ 5 ร้อยละ 70 ของจังหวัดในเขตฯ ระดับจังหวัด : ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากร 5 ขั้น ระดับเขต: ร้อยละ 70 ของจังหวัดผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการฯ 5 ขั้น 33

4. ระบบธรรมาภิบาล 1.การเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรของหน่วยงาน ให้มีวินัย และป้องกัน การกระทำผิดวินัย (กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม) 2.การตรวจสอบภายใน (กลุ่มตรวจสอบภายใน) 3.หน่วยงานคุณธรรม (สถาบันพระบรมราชชนก “แก้วกัลยาสิขาลัย”) 34

 การเสริมสร้างและพัฒนา หมายถึง การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี การฝึกอบรม การสร้างขวัญและกำลังใจ การจูงใจ การเสริมสร้างและพัฒนาทัศนคติ จิตสำนึก และ พฤติกรรมให้เป็นไปในทางที่มีวินัย  การป้องกันการกระทำผิด หมายถึง การเอาใจใส่สังเกตการณ์ และการขจัด เหตุที่ก่อให้เกิดการกระทำผิดวินัย ในเรื่องอันอยู่ใน วิสัยที่จะดำเนินการป้องกันตามควรแก่กรณี  วินัย หมายถึง การควบคุมความประพฤติให้เป็นไป ตามระเบียบแบบแผน และลักษณะเชิงพฤติกรรมที่ แสดงออกมาว่าสามารถ จะควบคุมตนเองให้อยู่ใน กรอบของบทวินัย 36

 บุคลากร หมายถึง ข้าราชการพลเรือนสามัญ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข และ ลูกจ้างชั่วคราวในหน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข  หน่วยงาน หมายถึง 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (ดำเนินการ ให้ครอบคลุมไปถึง รพช./สสอ./รพ.สต.) 2. โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป 37

ประเด็นตรวจราชการที่มุ่งเน้น การเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากร ของหน่วยงานให้มีวินัยและป้องกัน การกระทำผิดวินัย 38

พื้นที่ / หน่วยงาน ดำเนินการ มาตรการดำเนินงาน 1.สสจ. ทุกแห่ง (ครอบคลุม สสอ./ รพช./รพ.สต.) 2.รพศ./รพท.ทุกแห่ง 1.วิเคราะห์และวางแผนการ เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรของหน่วยงาน ให้มีวินัยและป้องกันการ กระทำผิดวินัย 2.ดำเนินการตามแผน การ เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรของหน่วยงาน ให้มีวินัยและป้องกันการ กระทำผิดวินัย 3.ติดตามและประเมินผล การดำเนินการ 39

ระดับขั้นตอนการดำเนินการ 1 ประชุมชี้แจง ประเด็นตรวจราชการ เรื่องการเสริมสร้างและพัฒนาวินัยฯ 2 แต่งตั้ง คกก. เสริมสร้างและพัฒนาวินัยฯ ( โดย นพ. สสจ./ ผอ. รพศ./ รพท.) 3 วิเคราะห์ปัญหาด้านวินัยฯ / เรียงลำดับ ความสำคัญ / จัดทำแผนการเสริมสร้างฯ 4 ดำเนินการตามแผนฯไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ของกิจกรรม / โครงการ ตามแผน 5 ดำเนินการตามแผนฯ ครบถ้วน / ประเมินผล / จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนฯ 40

ระดับ ระดับขั้นตอนของความสำเร็จ ขั้นตอน ที่ 1 ขั้นตอน ที่ 2 ขั้นตอน ที่ 3 ขั้นตอน ที่ 4 ขั้นตอน ที่ 5 1√ 2√√ 3√√√ 4√√√√ 5√√√√√ 41

ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ที่ต้องการ 3 เดือน6 เดือน9 เดือน12 เดือน บุคลากร สสจ. /รพศ. /รพท. ทุกแห่ง ได้รับการ เสริมสร้าง และพัฒนา วินัยฯ  วิเคราะห์  จัดทำแผน (รายงานการ วิเคราะห์ฯ และ แผนฯ 1 ฉบับ)  ดำเนินการ ตามแผนฯ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 65 (รายงานรอบ 6 เดือน 1ฉบับ)  ดำเนินการ ตามแผนฯ ครบถ้วน (รายงานรอบ 9 เดือน 1 ฉบับ)  สรุปผลการ ดำเนินการฯ /ประเมินผล (รายงานรอบ 12 เดือน และ การประเมินผล 1 ฉบับ) 42

1.แผนการตรวจสอบภายในและการดำเนินการ ตรวจสอบภายในของทุกหน่วยงานในจังหวัดอย่าง น้อยปีละ 1 ครั้ง 2.การแจ้งผลตรวจสอบภายในกลับให้หน่วยรับตรวจ ทราบภายหลังการตรวจฯ และมีการแก้ไขปรับปรุง ตามประเด็นและข้อสังเกตที่พบการตรวจสอบ ภายใน 3.การปรับปรุงและวิเคราะห์ปัญหาเพื่อวางระบบแก้ไข ปัญหาในภาพรวมจังหวัด 44

มาตรการดำเนินงานแนวทางการตรวจติดตามผลลัพธ์ที่ต้องการ 1.แผนการ ตรวจสอบภายใน และการดำเนิน การตรวจสอบ ภายในของทุก หน่วยงานใน จังหวัดอย่าง น้อย ปีละ 1 ครั้ง 1.จัดทำแผนการ ตรวจสอบภายใน ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2559 รอบ 3 เดือน 1. มีรายงาน ติดตามแก้ไข การปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ จากการตรวจสอบภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ มีแผนการตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 รอบ 6 เดือน ดำเนินการตามแผน การตรวจสอบภายในและสรุป รายงานผลการตรวจสอบ ภายใน ภาพรวมจังหวัด รอบ 6 เดือนภายใน วันที่ 18 เมษายน ประเด็น ฯ ที่ 1 แผนการตรวจสอบภายในและการดำเนินการ ตรวจสอบภายใน ของทุกหน่วยงานในจังหวัดอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

มาตรการดำเนินงานแนวทางการตรวจติดตามผลลัพธ์ที่ต้องการ 2.การแจ้งผลตรวจสอบ ภายในกลับให้หน่วย รับตรวจทราบภายหลัง การตรวจและมีการ แก้ไขปรับปรุงตาม ประเด็นและข้อสังเกต ที่พบการตรวจสอบ ภายใน 1. รายงานผล การตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ และ เสนอ นายแพทย์สสจ.ทราบ 2. จังหวัดแจ้งผลการ ตรวจสอบภายในให้ทุก หน่วยรับตรวจได้รับทราบ เพื่อแก้ไขปรับปรุงตาม ประเด็นและข้อสังเกตที่พบ จากการตรวจสอบภายใน 3. หน่วยงานดำเนินการ ปรับปรุงแก้ไขตาม ข้อเสนอแนะจากผล การตรวจสอบภายใน รอบ 9 เดือน 1.ดำเนินการตรวจสอบ ภายในตามแผนครบ 100 % 2. รายงานผลการ ตรวจสอบภายใน ภาพรวมจังหวัด รอบ 9 เดือนภายใน วันที่ 31 กรกฎาคม ประเด็น ฯ ที่ 2 การแจ้งผลตรวจสอบภายในกลับให้หน่วยรับตรวจ ทราบภายหลังการตรวจฯ และมีการแก้ไขปรับปรุงตามประเด็น และข้อสังเกตที่พบการตรวจสอบภายใน

มาตรการดำเนินงานแนวทางการตรวจติดตามผลลัพธ์ที่ต้องการ 3.การปรับปรุงและ วิเคราะห์ปัญหา เพื่อวางระบบ แก้ไขปัญหาใน ภาพรวมจังหวัด 1.คณะกรรมการ ตรวจสอบภายใน ระดับจังหวัด สรุป ปัญหาที่พบจาก การตรวจสอบ ภายในภาพรวม จังหวัด 2 มีแนวทางแก้ไข ปัญหาในภาพรวม จังหวัด รอบ 12 เดือน 1.คณะกรรมการ ตรวจสอบภายในระดับ จังหวัดวิเคราะห์ปัญหา เพื่อวางระบบแก้ไข ปัญหาในภาพรวม จังหวัด 2.ดำเนินการตามแนว ทางแก้ไขปัญหาใน ภาพรวมของจังหวัด จัดส่งเอกสารภายใน วันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ 47 ประเด็นฯที่ 3 การปรับปรุงและวิเคราะห์ปัญหา เพื่อวางระบบแก้ไขปัญหาในภาพรวมจังหวัด

 การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในสังคมโลกปัจจุบันทั้งด้าน โครงสร้าง เศรษฐกิจ และสังคม ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย อย่างมาก  โครงสร้างของประชากรเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โรคและ ความเจ็บป่วยมีวิวัฒนาการที่ควบคุมได้ยากขึ้น สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดภาวะวิกฤตในหลายๆด้าน โดยเฉพาะ หน่วยบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ซึ่งเป็นหน่วยงาน ที่ใกล้ชิดกับประชาชน บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องมีความ เข้าใจในปัญหาและร่วมกันแก้ไขให้เกิดความเป็นธรรมในการ บริการสุขภาพแก่ประชาชน 49

หน่วยบริการทุกแห่งมีการบริหารและบริการภายใต้ ระบบธรรมาภิบาล โดยใช้ค่านิยมหลัก 12 ประการ และการส่งเสริมการบริหารแผ่นดินที่มี ธรรมาภิบาล  แนวคิดโรงพยาบาลคุณธรรม ได้เกิดขึ้นจาก นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ที่ต้องการให้ หน่วยบริการทุกแห่งมีการบริหารและบริการภายใต้ ระบบธรรมาภิบาล สอดคล้องกับนโยบายของ รัฐบาล เกี่ยวกับการสร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมา ภิบาลให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และประชาชนทั่วไป โดยใช้ค่านิยมหลัก 12 ประการ และการส่งเสริมการบริหารแผ่นดินที่มี ธรรมาภิบาล 50

การดำเนินการพัฒนาหน่วยบริการ ให้เป็นโรงพยาบาลคุณธรรม กระบวนการปฏิบัติที่มุ่งเน้นให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับของ หน่วยงาน มีส่วนร่วมกำหนดหลักคุณธรรมในการ ทำงาน บนพื้นฐานคุณภาพคู่คุณธรรม ด้วยความสุข สร้างวัฒนธรรมการทำงานที่โปร่งใส ซื่อสัตย์ ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุดในการดูแลสุขภาพ ต่อไป  จึงผลักดันให้มีการดำเนินการพัฒนาหน่วยบริการ ให้เป็นโรงพยาบาลคุณธรรม โดยเริ่มดำเนินการ อย่างเป็นรูปธรรม เมื่อปีงบประมาณพ.ศ ด้วย กระบวนการปฏิบัติที่มุ่งเน้นให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับของ หน่วยงาน มีส่วนร่วมกำหนดหลักคุณธรรมในการ ทำงาน บนพื้นฐานคุณภาพคู่คุณธรรม ด้วยความสุข สร้างวัฒนธรรมการทำงานที่โปร่งใส ซื่อสัตย์ ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุดในการดูแลสุขภาพ ต่อไป และเพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่าง ต่อเนื่องจึงกำหนดให้เป็นตัวชี้วัดในปีงบประมาณ พ.ศ

1.พื้นที่/หน่วยงานดำเนินการมีการดำเนินการ โรงพยาบาล/หน่วยงานคุณธรรมครอบคลุมตาม ที่ระบุ 2.หน่วยงานมีความก้าวหน้าในการดำเนินการพัฒนา โรงพยาบาลคุณธรรม/หน่วยงานคุณธรรมเพิ่มจาก เดิมอย่างน้อย 1 ระดับ 3.หน่วยงานในเขตสุขภาพมีการพัฒนาเป็น โรงพยาบาลคุณธรรม/หน่วยงานคุณธรรมต้นแบบ ที่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดระดับ 5 52

1.นโยบายของผู้นำองค์กร มีการวิเคราะห์สภาพ ปัญหา จัดให้บุคลากรมีส่วนร่วม พูดคุยหาประเด็น สำคัญ วางเป้าหมาย ผู้นำจัดกระบวนการ มี นโยบายชัด 2.การประกาศอัตลักษณ์ 3.มีแผนและการดำเนินการตามแผน 4.มีการติดตามประเมินผล 5.มีการพัฒนาต่อยอด 53

ทุกแห่ง 1.สสจ. รพศ. รพท. รพช. ทุกแห่ง มีการดำเนินการ เป็นโรงพยาบาล/หน่วยงานคุณธรรม ร้อยละ 50 2.สสอ. มีการดำเนินการ หน่วยงานคุณธรรม ร้อยละ 50 3.รพ.สต. มีการดำเนินการโรงพยาบาลคุณธรรม ร้อยละ 30 ร้อยละ 30 ร้อยละ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ มีการดำเนินการ หน่วยงานคุณธรรม ร้อยละ100 54

 หน่วยงานคุณธรรม หมายถึง โรงพยาบาล/หน่วยงานที่มีการ บริหารจัดการด้วยความมีส่วนร่วมของบุคลากรใน การกำหนดคุณธรรมร่วม ยึดมั่นในสิ่งที่ถูกต้องบน พื้นฐานทางศีลธรรม วัฒนธรรม ตลอดจนให้บริการ ด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ด้วยความมีน้ำใจ เคารพในศักดิ์ศรีคุณค่าของผู้รับบริการ และบุคคล อื่น ปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์ของประชาชนโดยมี การดำเนินการตามระดับความสำเร็จตั้งแต่ระดับ 1 ขึ้นไป 55

 หน่วยงานคุณธรรมต้นแบบ หมายถึง โรงพยาบาล/หน่วยงาน ในสังกัด สป. ที่มีการบริหารจัดการด้วยความมีส่วนร่วมของบุคลากร ในการกำหนดคุณธรรมร่วม ยึดมั่นในสิ่งที่ถูกต้องบน พื้นฐานทางศีลธรรม วัฒนธรรม ตลอดจนให้บริการด้วย จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ด้วยความมีน้ำใจ เคารพใน ศักดิ์ศรีคุณค่าของผู้รับบริการและบุคคลอื่น ปฏิบัติงาน ด้วยความสุขเพื่อประโยชน์ของประชาชน โดยมีการ ดำเนินการตามระดับความสำเร็จระดับที่ 5 ส่งผลให้ ผู้รับบริการพึงพอใจ ผู้ให้บริการมีความสุข ลดเรื่อง ร้องเรียนของหน่วยงาน 56

 โรงพยาบาลศูนย์  โรงพยาบาลทั่วไป  โรงพยาบาลชุมชน  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล  สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ  สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ  หน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่โรงพยาบาล 57

 หน่วยงาน มีการดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม/ หน่วยงานคุณธรรม 1.ประชุมชี้แจงนโยบายพร้อมกำหนดจุดร่วมที่ บุคลากรตกลงเป็นข้อปฏิบัติในการนำไปพัฒนา โรงพยาบาลคุณธรรม/หน่วยงานคุณธรรม 2.แต่งตั้งกรรมการดำเนินการและจัดทำแผนพัฒนา “โรงพยาบาลคุณธรรม/หน่วยงานคุณธรรม” 3.ดำเนินการตามแผนฯ 4.รายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนฯ 5.วิเคราะห์ผลการดำเนินการและมีการพัฒนาต่อยอด 58

 ระหว่างวันที่ 23 – 24 ธันวาคม 2558 กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนาศักยภาพผู้นิเทศก์/ผู้ร่วมตรวจราชการ งานบูรณาการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2559 ณ โรงแรมมารวยการ์เด้นท์ กรุงเทพมหานคร 59