ความร่วมมือ ในกรอบเอเชีย-ยุโรป: ASEM WPP ความร่วมมือ ในกรอบเอเชีย-ยุโรป: ASEM WPP โดยสำนักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
Advertisements

การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
ณ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ฉวีวรรณ สุขสุนัย หน.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ไทยกับการส่งเสริม CLC’s ในประเทศเพื่อนบ้าน
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชาคมอาเซียน.
ดร.พงษ์ศักดิ์ ศรีวรกุล ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, วิทยาศาสตร์ทั่วไป, จิตวิทยา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การ ประถมศึกษา, ศิลปศึกษา,
รศ. ดร. สิทธิชัย แก้วเกื้อกูล คณบดี รศ. สุวรรณา สมบุญสุโข รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผศ. ดร. คมกฤตย์ ชมสุวรรณ รองคณบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนา รศ. ดร. กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
แนวคิดและทิศทางในอนาคตของ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดย ดร. วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 16 มกราคม 2557 โรงแรมแกรนด์ปาร์ค.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
บทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิก อื่น. ด้านการเมืองการปกครอง ในอดีต - ไกล่เกลี่ยความขัดแข้งระหว่างมาเลเซียและฟิลิปปินส์ เรื่องการอ้างกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนซาบาร์และซาราวัก.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การปกครองคณะสงฆ์ไทย Thai Sangha Administration
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
FTA.
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ธงชาติประเทศในอาเซียน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนของอาเซียน (CCI) ครั้งที่ ๖๔
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การจัดการความรู้ Knowledge Management
ยิ้มก่อนเรียน.
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
ณ โรงแรมมารวย การ์เด้น กรุงเทพมหานคร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความร่วมมือ ในกรอบเอเชีย-ยุโรป: ASEM WPP ความร่วมมือ ในกรอบเอเชีย-ยุโรป: ASEM WPP โดยสำนักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ

ความร่วมมือด้านการศึกษา -ความเป็นมา - กลไกความร่วมมือ - สาขาความร่วมมือ -บทบาทของไทยในกรอบความร่วมมือ ด้านการศึกษาของ ASEM -ASEM WPP ความร่วมมือในกรอบเอเชีย-ยุโรป - สมาชิก ASEM - ความเป็นมา - ความเป็นมา - กลไกความร่วมมือ - กลไกความร่วมมือ

ASEM members ASEM members 30 countries in Europe Europe 21 countries in Asia Asia + EU + ASEAN Secretariat + ASIA-EUROPE Foundation: ASEF เอเชีย: ออสเตรเลีย บังคลาเทศ บรูไน- ดารุสซาลาม กัมพูชา จีน อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ลาว มาเลเซีย มองโกเลีย เมียนมา นิวซีแลนด์ ปากีสถาน รัสเซีย สิงคโปร์ ไทย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ยุโรป: ออสเตรีย เบลเยียม บัลแกเรีย โครเอเทีย โครเอเชีย ไซปรัส สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมัน กรีซ ฮังการี ไอร์แลนด์ อิตาลี ลัตเวีย ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลต้า เนธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกส โรมาเนีย สโลวีเนีย สาธารณรัฐสโลวัก สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร คาซัคสถาน

ASEM members

ปี 2537 สิงคโปร์ & ฝรั่งเศส ปี 2537 สิงคโปร์ & ฝรั่งเศส เสนอให้มีเวทีหารือความร่วมมือระหว่าง เอเชียกับยุโรป ปี 2539 ไทย ปี 2539 ไทย เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมผู้นำ ASEM ครั้งที่ 1 ณ กรุงเทพฯ ความเป็นมา

กลไกความร่วมมือ ASEM Summit -การประชุมระดับผู้นำของประเทศ จัดขึ้นทุกๆ 2 ปี Ministerial Meeting - การประชุมระดับรัฐมนตรี อาทิ ด้านต่างประเทศ เศรษฐกิจ การคลัง สิ่งแวดล้อม แรงงาน คมนาคม วัฒนธรรม การศึกษา Senior Officials Meeting (SOM) - การประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส Working Level - การประชุมระดับคณะทำงานในด้านต่างๆ ASEM 3 pillars: Political dialogue Economic Cooperation Social, Cultural, Exchange & Educational Cooperation Cooperation

ความร่วมมือด้านการศึกษา : Asia-Europe Meeting of Ministers for Education (ASEMME) วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือในการพัฒนาการศึกษา ระหว่างภูมิภาคเอเชียกับยุโรป เนื่องด้วยการศึกษาเป็นหนึ่งในกลไก สำคัญต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการ พัฒนาอย่างยั่งยืนของทั้งสองภูมิภาค ASEMME1 (2551): Germany ASEMME2 (2552): Vietnam ASEMME3 (2554): Denmark ASEMME4 (2556): Malaysia ASEMME5 (2558): Latvia ASEMME6 (2560): South Korea ASEMME1 (2551): Germany ASEMME2 (2552): Vietnam ASEMME3 (2554): Denmark ASEMME4 (2556): Malaysia ASEMME5 (2558): Latvia ASEMME6 (2560): South Korea

ASEMME KL, Malaysia

ASEMME Riga, Latvia

Meeting of Ministers for Education Senior Officials Meeting (SOM) Working Level -Working Group Meeting -Expert Meeting -Conference/Seminar ความร่วมมือด้านการศึกษา: Asia-Europe Meeting of Ministers for Education (ASEMME) Conclusions by the Chair Stocktaking Report ASEM Education Secretariat [MOE, Indonesia]

Quality Assurance & Recognition Engaging Business & Industry in Education Balanced Mobility LLL including Technical & Vocational Education & Training ความร่วมมือด้านการศึกษา: Asia-Europe Meeting of Ministers for Education (ASEMME) ASEMME 4 Priority Areas การประกันคุณภาพ & การรับรองคุณวุฒิ ทางการศึกษา การให้ภาคธุรกิจ & เอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา การเคลื่อนย้าย นักศึกษา & บุคลากรที่สมดุล การเรียนรู้ตลอดชีวิต การอาชีวศึกษา & การฝึกอบรม

ความร่วมมือด้านการศึกษา: Asia-Europe Meeting of Ministers for Education (ASEMME) Quality Assurance & Recognition Engaging Business & Industry in Education Balanced Mobility LLL, Technical & Voc. Ed. & Training ส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกจัดการประชุม/สัมมนา/จัดตั้งคณะ ทำงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาระหว่างกัน ส่งเสริมให้มีการจัด University-Business Forum เพื่อเป็น ช่องทางในการพัฒนาความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับ ภาคอุตสาหกรรม ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษาระหว่างเอเชียกับ ยุโรปที่สมดุล และให้ประเทศสมาชิก ASEM ทำงานร่วมกันเพื่อ ลดอุปสรรคในการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากร ส่งเสริมการจัดตั้ง ASEM LLL Hub ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำงานร่วมกันเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความรู้และพัฒนาการศึกษาแบบทวิภาคี และการสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มโอกาสในการ มีงานทำของเยาวชน

บทบาทของไทยใน ASEMME เผยแพร่ ข้อมูล อุดมศึกษา ไทย Compendium Systems & Learning Outcomes in ASEM Member Countries ริเริ่มเป็น เจ้าภาพจัด ประชุม ร่วมริเริ่ม ดำเนิน โครงการ ASEM-Duo Fellowship Prog. 4th ASEM-DUO Experts Meeting ร่วมเป็น คณะ ทำงาน ร่วมจัดทำ รายงาน/ สรุปผล การ ประชุม - Conclusions by the Chair - Stocktaking Report เข้าร่วม ในเครือข่าย ความ ร่วมมือ จัดทำ ASEM Recognition Bridging Declaration Cross Border Quality Assurance Network in HE (CBQAN) 1st ASEM University-Business Forum ASEM LLL Research Network1 Meeting ASEM Conference on Balanced Mobility ASEM Conference: LLL: e-Learning & Workplace Learning

Quality Assurance & Recognition Engaging Business & Industry in Education -สกอ. เป็นเจ้าภาพจัด 1st ASEM University-Business Forum ณ กรุงเทพฯ (มีนาคม 2553) -สกอ. ประสานให้ผู้แทนมหาวิทยาลัยไทยเข้าร่วม 3 rd ASEM University-Business Forum ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ (2555) -สกอ. ส่งผู้แทนนักศึกษาเข้าร่วม ASEM Workshop on Fostering Entrepreneurship in Higher Education ณ บรูไนดารุสซาลาม (พฤษภาคม 2558) - ผู้แทนสมอ. ร่วมประชุมคณะทำงานในการจัดทำ ASEM Recognition Bridging Declaration (เวียนนา/ธันวาคม 2554) (ปักกิ่ง/กันยายน 2555) -สมอ. จัดทำข้อมูลเกี่ยวกับระบบอุดมศึกษาไทย ระบบหน่วยกิตและมาตรฐานผล การเรียนรู้เผยแพร่ใน Compendium Systems and Learning Outcomes in ASEM Member Countries -สกอ. โดย สมอ. และสมศ. เข้าเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของเครือข่าย Cross Border Quality Assurance Network in Higher Education (CBQAN) (ปี 2558) บทบาทของไทยใน ASEMME

Balanced Mobility LLL including Technical & Vocational & Training - สกอ. ดำเนินโครงการ ASEM-Duo Fellowship Programme: DUO-Thailand (2549-ปัจจุบัน) ไทยเป็น 1 ใน 5 ประเทศ (สวีเดน เบลเยียม เกาหลี สิงคโปร์ ไทย) ที่เป็น contributing partner ของ ASEM-DUO Fellowship - สกอ. โดย TCU ร่วมกับกระทรวงแรงงานเป็นเจ้าภาพจัด ASEM Conference “Lifelong - Learning: E-Learning and Workplace Learning” ณ กรุงเทพฯ (กรกฎาคม 2552) - สกอ. เป็นเจ้าภาพจัด 4th ASEM-DUO Experts Meeting ณ กรุงเทพฯ (มิถุนายน 2551) - สกอ. เป็นเจ้าภาพจัด International Asia-Europe Conference on Enhancing Balanced Mobility ณ กรุงเทพฯ (มีนาคม 2555) - สถาบันอุดมศึกษาไทยเข้าร่วมใน ASEM LLL Hub ได้แก่ จุฬาลงกรณ์ฯ มสธ. มศว., TCU - สกอ. โดย TCU เป็นเจ้าภาพจัด e-ASEM Research Network Meeting and Seminar ณ กรุงเทพฯ (สิงหาคม 2553) - รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ในขณะนั้น คือ รศ. พินิติ รตะนานุกูล) ได้รับเลือกให้เป็นประธาน Advisory Board Meeting ของ ASEM LLL Hub ในนาม ผู้แทนจากประเทศในเอเชียร่วมกับผู้แทนของลัตเวีย (2556) บทบาทของไทยใน ASEMME

ASEM WPP ASEM Work Placement Programme =

ASEM WPP ASEM Work Placement Programme ประเทศที่เข้าร่วมโครงการ Germany Brunei Darussalam Belgium Indonesia Thailand เป็นโครงการที่ได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุม ASEMME4 ให้ ริเริ่มดำเนินงานเพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนการฝึกงานของ นักศึกษาสร้างเสริมประสบการณ์การทำงานข้ามวัฒนธรรม รวมทั้งสร้างความเข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่าง ภูมิภาคเอเชียและยุโรป

สถานะการเตรียมการ - ประเทศฝ่ายเอเชียและยุโรปที่เข้าร่วมโครงการจะส่งนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ โดยเป็นการแลกเปลี่ยนนักศึกษาฝึกงานระดับปริญญาตรี-โท ไม่จำกัดสาขาวิชา (ประเทศละ 10 คน/ปี) - ระยะเวลาการฝึกงาน 2-6 เดือน (เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการศึกษาหรือเป็นการฝึกงาน ตามความสมัครใจก็ได้) - คาดว่าจะเริ่มแลกเปลี่ยนนักศึกษาฝึกงานได้ช่วงปลายปี 2559 หลักการดำเนินงาน สกอ. จัด 1 st Expert Meeting of the ASEM Work Placement Programme เพื่อ หารือหลักการและ แนวทางการดำเนิน โครงการ (29-30 มค. 58/ กรุงเทพฯ) 5 ประเทศที่เข้าร่วม โครงการลงนามใน Letter of Intent เพื่อ แสดงเจตจำนงที่จะ ดำเนินโครงการภายใต้ หลักการที่กำหนด ร่วมกัน SOM2, ASEMME5 (26 เม.ย. 58/ รีกา ลัตเวีย) เบลเยียมจัด 2 nd Meeting of the ASEM Work Placement Programme เพื่อ หารือการเตรียมการ แลกเปลี่ยน นักศึกษาฝึกงาน ระหว่างประเทศ ที่เข้าร่วมโครงการ (24-25 กย. 28/ Ghent Univ.) สกอ. จัดประชุม ร่วมกับมหาวิทยาลัย ที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อชี้แจงและ เตรียมการดำเนินงาน (กย. 58 & กพ. 59) ASEM WPP

มหาวิทยาลัยไทยที่เข้าร่วมโครงการในระยะนำร่อง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สาขาวิชาที่ฝ่ายไทยเสนอให้มีการแลกเปลี่ยนการฝึกงาน วิศวกรรมศาสตร์ บริหารธุรกิจ อุตสาหกรรมเกษตร การโรงแรม & การท่องเที่ยว เภสัชศาสตร์ ASEM WPP บทบาทของสกอ. เป็นผู้ประสานงานระหว่างไทยกับประเทศที่เข้าร่วมโครงการ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปฝึกงานที่เบลเยียม & เยอรมนี ให้แก่นักศึกษาไทยที่ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการ ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการของฝ่ายไทย

Visibility Connectivity Internationality Benefits ชูบทบาทอุดมศึกษาไทยในเวทีระหว่างประเทศ สร้างความเชื่อมโยงด้านการศึกษา พัฒนาอุดมศึกษาไทยสู่สากล

[downloads/knowledge sharing]