๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
การศึกษาปฐมวัย แผนยุทธศาสตร์หลัก แผนยุทธศาสตร์หลักที่ 1 แผนพัฒนาพ่อแม่ ผู้ปกครอง สมาชิกใน ครอบครัวและผู้เตรียมตัวเป็นพ่อแม่ แผนยุทธศาสตร์หลักที่ 1 แผนพัฒนาพ่อแม่
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา นายแพทย์พรศักดิ์ อยู่เจริญ. สำนักโรคติดต่อทั่วไป

นโยบายศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค เด็กภายในศูนย์ฯ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีพัฒนาการสมวัย (ทั้งร่างกาย สมอง และจิตใจ) ปลอดจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้

ศูนย์เด็กเล็กทุกแห่ง “ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค” เป้าหมาย ศูนย์เด็กเล็กทุกแห่ง ผ่านการรับรอง “ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค”

เป้าหมาย ครอบคลุมศูนย์เด็กเล็กทั่วประเทศในปี 2556 ปี 2554 ร้อยละ 30 ของศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ (ร้อยละ 30 ของศูนย์เด็กเล็กที่เข้าร่วมโครงการผ่านเกณฑ์ประเมิน) ปี 2555 ร้อยละ 60 ของศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ (ร้อยละ 50 ของศูนย์เด็กเล็กที่เข้าร่วมโครงการผ่านเกณฑ์ประเมิน) ปี 2556 ร้อยละ 100 ของศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ (ร้อยละ 80 ของศูนย์เด็กเล็กที่เข้าร่วมโครงการผ่านเกณฑ์ประเมิน) 4

กระบวนการพัฒนา... ประเทศไทย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กระบวนการพัฒนา... ประเทศไทย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครอบครัว ชุมชน พื้นที่ ภูมิภาค ประเทศ บ้าน

กระบวนการพัฒนา...ศูนย์เด็กเล็ก กระทรวงสาธารณสุข Input Process Output Outcome Impact เข้าร่วมโครงการ ศดล. - น่าอยู่ - ปลอดโรค - ฯลฯ ดำเนินการตามแนวทาง ข้อกำหนดและเกณฑ์มาตรฐานของโครงการฯ - ผู้บริหาร - ครูและผู้ดูแลเด็ก - ผู้ปกครอง ผู้มีส่วนร่วมในชุมชน จนท.สธ. (ส่งเสริม, สนับสนุน, แนะนำ และประเมินรับรอง ผ่านการรับรองคุณภาพ - ศดล.น่าอยู่ - ศดล.ปลอดโรค - ฯลฯ - เด็กมีสุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย เด็กพฤติกรรมสุขภาพเหมาะสม - เด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดจากโรค/ภัย โรค/ภัยลดลง พัฒนาการของเด็กเหมาะสมกับวัย ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์ เด็กมีพัฒนาในการเรียนรู้ที่ดี เด็กมีอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง และมีสุขภาพจิตที่ดี เด็กมีร่างกายที่แข็งแรง

ปัจจัยส่งเสริมความสำเร็จ การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ผู้ปกครอง และชุมชน บุคลากรมีเพียงพอต่อการดำเนินงาน อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการดูแลความสะอาดและการป้องกันควบคุมโรคเพียงพอ บุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาในการให้ข้อแนะนำและคำปรึกษาที่เหมาะสม

ปัจจัยความสำเร็จ ชุมชนเข้มแข็ง ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค พ่อแม่ผู้ปกครอง ผู้บริหาร อบต. เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ครูผู้ดูแลเด็ก ครูพี่เลี้ยง ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค สภาพแวดล้อมสะอาดปลอดภัย ความรู้ การป้องกันควบคุมโรค พฤติกรรมสุขภาพถูกต้อง คัดกรอง เฝ้าระวัง เครือข่ายเข้มแข็ง ปัจจัยความสำเร็จ

ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ภายนอกศูนย์ ผู้ปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน กระทรวงสาธารณสุข สปสช. เอกชน, NGO ฯลฯ เครือข่ายการทำงาน อย่างมีส่วนร่วม - ร่วมรับรู้ - ร่วมคิด - ร่วมตัดสินใจ - ร่วมทำ - ร่วมตรวจสอบ - ร่วมรับผิดชอบ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค นโยบายและแผนงานโครงการ บุคลากร – งบประมาณ - วัสดุอุปกรณ์

ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ๑. ครูผู้ดูแลเด็กมีสุขภาพและความรู้ดี ๒. การบริหารจัดการดี ๓. สภาพแวดล้อมดี + ๑๐ มาตรการ สำหรับครูผู้ดูแลฯ พฤติกรรมสุขภาพของเด็ก ภายในศูนย์ ยุทธศาสตร์ ๓ ดี ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค

ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ภายนอกศูนย์ ผู้ปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน กระทรวงสาธารณสุข สปสช. เอกชน, NGO ฯลฯ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ผ่านการรับรอง

ศูนย์เด็กเล็ก ชุมชนร่วมใจ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค กรมควบคุมโรค มอบประกาศนียบัตรนี้ให้ไว้เพื่อแสดงว่า ศูนย์เด็กเล็ก ชุมชนร่วมใจ ได้ผ่านการเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมประเมินจันทวิมล กรมควบคุมโรค ( นายพรเทพ ศิริวนารังสรรค์ ) อธิบดีกรมควบคุมโรค 12

อบรมต่อเนื่องฯ ปี 2555( 21-22 กุมภาพันธ์ 2555)

สร้างความเข้าใจกับผู้ปกครอง ผลเสียของการเกิดโรคในศูนย์เด็ก ลูกของใคร ใครก็รัก

ความร่วมมือในการควบคุมโรคของผู้ปกครอง ไม่ลูกเรา ก็ลูกเขา อาจติดโรคแน่นอน พวกเรา...จะมีส่วนร่วมในการควบคุมโรคได้อย่างไรบ้าง มาร่วมมือกันจัดสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กด้วยกัน เพราะลูกเรา เรียน กิน นอน เล่น ที่นี้

พิธีมอบรางวัลศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่+ปลอดโรคระดับจังหวัด เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานโครงการ "ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค" ที่เข้าร่วมโครงการฯ ปี 2554 - 2555 หน่วยงาน ศูนย์เด็กเล็ก จำนวน (แห่ง) เข้าร่วมโครงการฯ ปี 54 (ร้อยละ) ปี 55 (ร้อยละ) รวมสะสม (ร้อยละ) สคร.1 546 48.2 36.8 85.0 สคร.2 720 29.2 34.7 63.9 สคร.3 1,298 48.8 85.6 สคร.4 1,225 10.1 73.1 83.2 สคร.5 2,062 47.5 51.5 99.0 สคร.6 3,461 50.5 35.0 85.5 สคร.7 3,068 25.8 61.2 87.0 สคร.8 820 - 88.9 สคร.9 1,184 44.1 29.5 73.6 สคร.10 2,778 37.3 39.7 77.0 สคร.11 1,079 46.3 31.4 77.7 สคร.12 1,261 27.2 58.6 85.8 รวม 19,502 35.9 48.1 84.0 หมายเหตุ: ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2555

ผลการดำเนินงานโครงการ "ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค" ที่เข้าร่วมโครงการผ่านเกณฑ์ ปี 2554 - 2555 หน่วยงาน ศูนย์เด็กเล็ก จำนวน (แห่ง) ผ่านเกณฑ์ ปี 54 (ร้อยละ) ปี 55 (ร้อยละ) รวมสะสม (ร้อยละ) สคร.1 464 36.9 78.6 55.0 สคร.2 460 46.7 72.4 60.7 สคร.3 1,112 9.0 52.2 33.6 สคร.4 1,020 100.0 58.3 63.3 สคร.5 2,043 52.3 65.0 58.9 สคร.6 2,959 31.9 60.4 43.6 สคร.7 2,669 43.0 77.9 67.6 สคร.8 729 - 72.7 สคร.9 871 21.5 158.2 76.2 สคร.10 2,141 16.4 80.1 49.2 สคร.11 839 49.8 107.4 73.1 สคร.12 1,082 35.0 27.9 30.1 รวม 16,389 34.7 70.4 55.2 หมายเหตุ: ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2555

ผลการนิเทศ ติดตามงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค หน่วยงานสาธารณสุขระดับเขตและจังหวัด (ผู้บริหาร) - ให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน - มีผู้รับผิดชอบชัดเจน - ประสานงานและทำงานร่วมกับจังหวัดเป็นอย่างดี ปัญหา/อุปสรรค - การเปลี่ยนผู้รับผิดชอบงานคนใหม่ - ทีมประเมินไม่เพียงพอ - ขาดความต่อเนื่องของการนิเทศติดตามงานในพื้นที่ - ข้อจำกัดในการบูรณาการงานศูนย์เด็กเล็กร่วมกัน(บางพื้นที่)

ผลการนิเทศ ติดตามงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค(ต่อ) องค์กรปกครองท้องถิ่น (เทศบาล/อบต.) - ให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน - มีแผนงาน ผู้รับผิดชอบ และงบประมาณ ปัญหา/อุปสรรค - ผู้บริหาร ส่วนใหญ่มีความเข้าใจศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเฉพาะในด้านการศึกษา แต่ไม่เข้าใจในด้านสุขภาพ - นโยบายด้านการพัฒนาสุขภาพยังไม่ชัดเจน และส่งผลต่อความต่อเนื่องในการดำเนินงาน - ผู้รับผิดชอบงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กยังขาดความเข้าใจ/กระตือรือร้น 25

ผลการนิเทศ ติดตามงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค(ต่อ) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (เทศบาล/อบต.) - ครูผู้ดูแลเด็กให้ความสนใจและสมัครเข้าร่วมโครงการจำนวนมาก - สามารถดำเนินงานให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของกรมควบคุมโรค ปัญหา/อุปสรรค - จำนวนบุคลากรไม่เพียงพอต่อการดูแลเด็ก - ครูผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ความเข้าใจในการป้องกันควบคุมโรค - ครูผู้ดูแลเด็กไม่ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี (Chest X-ray) - สื่อการสอนเรื่องการป้องกันควบคุมโรคยังมีไม่เพียงพอ

ผลการนิเทศ ติดตามงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค(ต่อ) ข้อเสนอแนะ จากครูผู้ดูแลเด็ก - จัดอบรมให้ความรู้แก่ครูผู้ดูแลเด็กอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ - จัดหาสื่อการสอนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้เพียงพอ/หลากหลายมากขึ้น ข้อเสนอแนะ จากเจ้าหน้าที่ระดับเขตและจังหวัด - บูรณาการโครงการศูนย์เด็กเล็กที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน (สธ) - ควรจัดทำและพัฒนาระบบฐานข้อมูลศูนย์เด็กเล็ก - นิเทศ/ติดตาม และให้การสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง - การขยายผลในรร.อนุบาล ควรมีการพูดคุยกับผู้บริหารส่วนกลางก่อน เพื่อพื้นที่จะทำงานได้ง่ายขึ้น

ผลการนิเทศ ติดตามงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค(ต่อ) ข้อเสนอแนะ จากทีมผู้นิเทศ - ผู้รับผิดชอบงานใหม่ สามารถเรียนรู้จากผู้รับผิดชอบงานเดิม และเข้ารับการอบรมผู้ประเมินของโครงการฯ - ให้สาธารณสุขอำเภอเป็นเครือข่ายผู้ประเมินในระดับพื้นที่ และมีส่วนร่วมในการนิเทศ และประชาสัมพันธ์โครงการร่วมกับจังหวัด - การบริหารจัดการงบประมาณที่จำกัด สามารถบูรณาการร่วมกับงานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ 28

ผลการนิเทศ ติดตามงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค(ต่อ) ข้อเสนอแนะ จากทีมผู้นิเทศ - การดำเนินงานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มุ่งเน้นการทำงานแบบ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและการแก้ไขปัญหา - ใช้ศักยภาพและทรัพยากรในชุมชน เช่น กรณีขาดงบประมาณ ใช้กองทุนสุขภาพตำบล (อบต.+สปสช.) กองทุนสาธารณประโยชน์ต่างๆ หรือผู้มีฐานะในพื้นที่ รวมถึงพลังศรัทธาของคนในชุมชน กรณีขาดแคลนบุคลากร อาจใช้กลุ่มจิตอาสา ชมรมผู้สูงอายุภายในชุมชน เป็นต้น 29

ขอบคุณทุกท่าน