ภราเดช พยัฆวิเชียร นายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร 14 พฤษภาคม2558 มุมมองอุดมศึกษาไทยกับการปรับตัวของ มหาวิทยาลัยศิลปากร ภราเดช พยัฆวิเชียร นายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร 14 พฤษภาคม2558
กุญแจในการปฏิรูปการศึกษา: ศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ
กุญแจในการปฏิรูปการศึกษา: ศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ
งานวิจัยด้านการศึกษาระดับโลก Visible Learning โดยศาสตราจารย์ John Hattie ชี้ให้เห็นว่า เรามัวแต่พัฒนาสิ่งที่มีประสิทธิภาพน้อย หรือไม่ได้มีผลต่อการพัฒนาการศึกษาอย่างแท้จริง กุญแจในการปฏิรูปการศึกษา: ศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ
กุญแจในการปฏิรูปการศึกษา: ศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ
มหากระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก
World market is growing changes in demographic Changes in technology World market is growing but at it’s fundamental structure also changing Changes in demand & supply system Changes in environment Changes in geopolitical landscape
changes in demographic
Ageing Europe • According to the United Nations, population ageing is increasingly becoming one of the most salient social, economic and demographic phenomena of our times. • By 2050, the number of people over 60 in Europe will reach 40% of the total population or 60% of the working age population.
Consequences: New Migrant Workers: 80–700 million migrants by 2050 • Old Age Poverty & • Social Exclusion • Shrinking Income • Shrinking Consumption • Shrinking Wealth • Growing Health Risks & • Long Term Health Problems • Large Scale Immobility & • Neglected Space [Destinations] New Migrant Workers: 80–700 million migrants by 2050
changes in demographic Work at home longer leave with pay Working Woman etc etc Single people DINKY Late Marriage Double Income Couple Migration etc
The World’s Largest Cruise Ship: Allure of the Seas Changes in technology (Transportation) Marine Transportation Land Transportation Air Transportation ASIAN Highway DC-10 to AIRBUS A380 transition hub airports High-Speed Train The World’s Largest Cruise Ship: Allure of the Seas
Internet GIS Changes in technology (ICT) Reach the world(market) through ICT LBS: Local Based Services Web GIS Mobile Devices LBS Mobile Internet Mobile GIS
Changes in environment เช่น วิกฤติธรรมชาติ สึนามิ ภูเขาไฟ พายุใต้ฝุ่น ภัยคุกคามจากการก่อการร้าย จากภาวะสงคาม การจราจล จากความอดหยาก การระบาดของโรคร้ายต่างๆ เป็นต้น
Impacts of Climate change : the need for Adaptation
Impacts on Climate change : the need for Mitigation
Changes in geopolitical landscape AEC Globalization G7 E7 G7 = Fr, Ge, It, Ja, UK, US, Ca E7 = BRIC + Mex+Indo+Turk Did you know 3.0; If you're one in a million in China...there're 1,300 people just like you. China will soon become the Number One English speaking country in the world. The 25% of India's population with the highest IQ's...is greater than the total population of the US. TRANSLATION: India has more honors kids than America has kids. ด้วยเศรษฐกิจโลกผูกพันกันมากขึ้นเมื่อเกิดภาวะวิกฤติเศรษฐกิจขึ้น ในเขตเศรษฐกิจขนาดใหญ่ก็จะกระทบต่อกันเป็น ‘ลูกโซ่’ การผันผวนของการแลกเปลี่ยนเงินตรา การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุนล้วนมีผลต่อการเดินทางท่องเที่ยว และหากเศรษฐกิจดีประชาชนมีเงินออมมากขึ้นก็มีโอกาส เดินทางมากขึ้นด้วย
SLIDE 2 ASEAN threats For some people, the joint-collaboration of the ASEAN countries is perceived as “threat” since we all have to comply to the same rules and regulations no matter if we are big or small.
Internationalization (ความร่วมมือระหว่างประเทศ --> ร่วมมือประโยชน์รวมกัน) (Colin Hines) Internationalization คือการไหลถ่ายเท ความคิด เทคโนโลยี ข้อมูล วัฒนธรรม จนถึงสินค้าและทุนต่างๆ ได้เฉกเดียวกัน แต่เป็นเป้าหมายสุดท้าย คือการปกป้อง และสร้างเสริมเศรษฐกิจสังคม ท้องถิ่นทั่วโลกไม่ได้เน้นที่การแข่งขัน กำไรสูงสุด แต่เป็นความร่วมมือเพื่อประโยชน์ที่ร่วมกันที่ดีที่สุด (Colin Hines)
(ท้องถิ่นภิวัฒน์ --> เศรษฐกิจพอเพียง) Localization (ท้องถิ่นภิวัฒน์ --> เศรษฐกิจพอเพียง) (Colin Hines) Localization ชุมชน ชาติ กลุ่มชาติที่รวมตัวกัน สามารถควบคุมระบบเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร ได้ด้วยตัวเอง ส่งผลยึดโยงกับชุมชนในทุกระดับ ลดความยากจน ความไม่เท่าเทียม และยกระดับมาตรฐานการดำรงรับ และคุณภาพชีวิต โครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง ได้รับการปกป้อง มั่นคง และยั่งยืน หรือโดยรวมคือความมั่นคง ยั่งยืนของชุมชนในทุกด้าน Localization ไม่ได้ปิดกั้นข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีและการค้าการลงทุน การบริหารจัดการและกระบวนการทางกฏหมาย ทว่าเน้นเป้าหมายที่ท้องถิ่น เปิดโอกาสให้ชุมชนสามารถพัฒนาตามความหลากหลายของเขาได้
-รู้เขา รู้เรา -บรรเทาป้องกัน -ปรับเปลี่ยนที่เหมาะสม โลกาภิวัฒน์ = สร้างวัฒนธรรมเดี่ยว Cultural Sanitation/Less ท้องถิ่นภิวัฒน์ = ปรับวัฒนธรรมให้เหมาะสม Cultural Adaptation Under these circumstances, beggar-your-neighbor globalization gives way to the potentially more cooperative better-you-neighbor localization
beggar-your-neighbor: globalization better-your-neighbor: localization This “big fish, small fish effect” will definitely happen if we only bicker and fight among ourselves like chickens in a small coop en route to the market, all will die fighting each other to death. But if we perceive each other as allies and cooperate, we can turn threats into opportunities both from tourism coming in from other regions and tourism within our ASEAN communities.
3 pillars of AC ASEAN COMMUNITY (AC) ASEAN Economic Community (AEC) ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) ASEAN Political-Security Community (APSC) There are 3 pillars to the union of ASEAN community, and not just the one AEC or the “Economic” pillar that the tourism industry mainly put emphasis on. Another important pillar is the ASEAN “Socio” and “Cultural” Community (ASCC) that offers huge opportunities beyond just “Economic”.
Connection ETHNICS RACE CULTURE TRADE LANGUAGE For instance, if we are talking about beyond borders; borderless; seamless, this is not just opportunities from having connecting borders and ease of crossing borders, to reduce the entry formality process, or to have convenient transportation. However in reality, the connection between race, ethnics, cultures and trades have long been established for centuries, since the aspect of kinship or neighboring countries is ingrained within this region. Which means a larger market-base not limiting only to a conventional tourism buyers and sellers.
Since Late Prehistoric and Early Historic periods Recently, archeologists from Silapakorn University held an academic seminar on the topic of the relationship between languages and ancient states of ASEAN. It is obvious that there are interrelations since the late prehistoric and early historic periods to present time. Archeological excavations, ancient scriptures and artifacts presented clear evidence of interrelation and connection between the ASEAN communities in terms of art and cultural aspects, linguistics, races and ethnics, settlements and technological advancements.
Today Sadly today, we lack the knowledge and the sense of belonging that will gradually connect us into the solidary ASEAN community. The smallest starting point is the “local community” which is the most upstream of ethnicity, language, art & culture and the local way of life that co-exist and at peace with nature and surrounding environment, and interacts with other communities that expands into wider scope. This is the key to success of CBT and Ecotourism of ASEAN by expanding from localization to internationalization that preserves identity and cooperation to build sustainability.
Reconnect to tap into new opportunities If we are to look for market opportunities different from the normal marketing practices, we may start with the relationship between our ethnics, cultures, trades, education and so on, by building knowledge and widening perception. For example, foreign exchange programs for travelling students, academic seminars, the collaboration between artists, poets, or athletes, being “sisters-cities” and alternately hosting exchange events and activities. By taking advantage on leisure destinations with close proximity, convenient transportation, inexpensive expenses (affordable price) and large market-base of 580 million AC population, which most likely will provide higher frequency than other more distant markets.
Dancing with the Dragon มหากระแสบูรพาภิวัฒน์
Overview of the economic projections by the International Monetary Fund (IMF) Population GDP /capita Growth of GDP (%) Million US$ bn US$ Change over previous year Average 2012 2012 2012 2008 2009 2010 2011 2012 1995-2012 Asia & Pacific 3,938 22,968 5,830 4.7 4.1 8.3 5.7 4.9 5.5 Japan 128 5,960 46,710 -1.0 -5.5 -0.6 2.0 0.8 Australia 23 1,542 67,310 2.7 1.4 2.6 2.4 3.7 3.4 China 1,354 8,221 6,070 9.6 9.2 10.4 9.3 7.7 9.7 India 1,227 1,842 1,500 3.9 8.5 10.5 6.3 3.2 6.8 Th,Indo,Ma,Ph 438 1,799 4,110 4.6 1.3 7.0 4.3 4.0 Africa 958 1,678 1,750 5.2 2.8 5.1 4.5 5.0 Middle East 207 2,236 10,830 7.1 5.9 4.8 7.6 Source: compiled by UNWTO World Economic Outlook, October2013
Overview of the economic projections by the International Monetary Fund (IMF) Growth of GDP (%) Current projections Trend** 2013* 2014* 2015* 2016* 2017* 2018* 12-11 13*-12 14*-13* Asia & Pacific 4.9 5.2 5.4 5.5 5.6 - = + Japan 2.0 1.2 1.1 ++ Australia 2.5 2.8 3.0 -- China 7.6 7.3 7.0 India 3.8 5.1 6.3 6.5 6.7 Thailand Africa 4.6 5.3 Middle East 3.1 4.7 4.8 5.0 *Provisional figures **Percentage points change to previous year: --<-1; -(-1,-0.2); =(-0.2,0.2); +(0.2,1); ++>1 Source: compiled by UNWTO World Economic Outlook, October2013
Dancing with the Dragon ปี พ.ศ. 2557 ส่งออกนักท่องเที่ยว 116 ล้านคน ซื้อบริการท่องเที่ยว USD 165 พันล้าน มีนักท่องเที่ยวในประเทศ ล้านคน (2556) สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Consumer leads the trends Changes in demand & supply system Brick & Mortar Brick & Click Click & Click Consumer leads the trends การควบรวมบริษัทนำเที่ยวข้ามประเทศ (จากการเปิดเสรีการค้า การลงทุน) การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี Internet ที่ทำให้โครงสร้างของธุรกิจการท่องเที่ยวต้องปรับตัว เกิดความหลากหลายขยายตัวเองธุรกิจที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวมากขึ้น เช่นโรงแรมหลายหลายรูปแบบ การนำเที่ยวเฉพาะทางเฉพาะกลุ่มที่มีความต้องการที่หลากหลายมากขึ้น ความหลากหลายของแหล่งท่องเที่ยว บริการการท่องเที่ยวที่หลากหลายรูปแบบและแข่งขันกันมากขึ้น ฯลฯ Sustainable Production & Consumption
จากสินค้าพื้นฐาน --> บริการ --> ประสบการณ์ สินค้าพื้นฐาน เกษตร, อุตสาหกรม --> เชิงปริมาณ = แข่งที่ราคา(economy of scale) สินค้าบริการ --> คุณภาพ = ราคาสินค้า + มูลค่าเพิ่ม สินค้าประสบการณ์ --> ความประทับใจ = ราคาสินค้า + มูลค่าเพิ่ม + คุณค่า
จุดได้เปรียบในการแข่งขันและยั่งยืน พัฒนาความได้เปรียบในสิ่งที่เรามีและแตกต่าง (Comparative Advantage) ให้เป็นความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) พร้อมที่จะปรับตัวรับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง (Adaptive Advantage) ทรัพยการที่มีอยู่ การพัฒนาทรัพยากร การพัฒนาศักยภาพ ทรัพยากรต้นทุน การจัดการที่ดี วางแผนประเมินปรับปรุง ทรัพยากรที่สร้างสรรค์ขึ้น การตลาด ศักยภาพบุคลากร ความได้เปรียบในการแข่งขัน ความได้เปรียบที่แตกต่าง ความพร้อมรับและ ปรับตัว เป็นแรงดึงดูด เป็นแรงดึงดูด เป็นแรงดึงดูด ความสามารถในการแข่งขัน ความสามารถในการแข่งขัน สู่ความยั่งยืน
มุมมองของนายกสภา
ความจำเป็นที่ต้องปฏิรูปการศึกษา(อุดมศึกษา) ฐานคิดที่ผิด ผลิตคนเพื่อระบบงาน ผลิตคนเพื่อเป็นผู้เชี่ยวชาญ ขาดความเชื่อมโยงในภาพรวม ผลิตคนเพื่อสร้างสถานะทางสังคม สร้างความแตกแยกและชนชั้นในสังคม ระบบการศึกษาไม่ได้เครื่องมือให้คนอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ความจำเป็นที่ต้องปฏิรูปการศึกษา(อุดมศึกษา) โครงสร้างเดิมที่ล้าหลังและยากต่อการเปลี่ยนแปลง ระบบภาควิชา คณะวิชา ดุจตั้งค่ายคูประตูหอรบ ขาดการบูรณาการในทุกมิติ อาจารย์คือกลุ่มคนที่ปรับตัวยากที่สุดกลุ่มหนึ่ง ความเป็นอิสระสูง vs. ความร่วมมือต่ำ ระบบการบริหารใช้กฎระเบียบมากกว่าวินัยสำนึกและความรับผิดชอบ ติดกับดักของระบบและเครื่องมือ
ความจำเป็นที่ต้องปฏิรูปการศึกษา(อุดมศึกษา) วัตถุดิบที่ด้อยคุณภาพ ระบบการศึกษาก่อนส่งต่อไร้คุณภาพ กระบวนการคัดเข้าที่ผิดฝาผิดตัว ขาดการบ่มเพาะที่จะเพิ่มโอกาสและศักยภาพ
ความจำเป็นที่ต้องปฏิรูปการศึกษา(อุดมศึกษา) วัตถุดิบที่ด้อยคุณภาพ ระบบการศึกษาก่อนส่งต่อไร้คุณภาพ กระบวนการคัดเข้าที่ผิดฝาผิดตัว ขาดการบ่มเพาะที่จะเพิ่มโอกาสและศักยภาพ
ความจำเป็นที่ต้องปฏิรูปการศึกษา(อุดมศึกษา) การตั้งโจทย์ที่ผิด ตอบโจทย์เฉพาะหน้ามากกว่าตอบโจทย์หลัก ตอบโจทย์ตนมากกว่าตอบโจทย์ของส่วนรวม ขาดการตั้งคำถามต่อโจทย์ ขาดการตั้งโจทย์จากชีวิตจริงของสังคม
โอกาสของมหาวิทยาลัยศิลปากร
“ ให้ครูรักเด็ก และให้เด็กรักครู “ พระราชกระแสฯ เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ