การทดสอบเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยและสัดส่วน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

System Requirement Collection (2)
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีกิตติบริหารธุรกิจ Kitti Business Administration Technological College ชื่อเรื่อง “พฤติกรรมการใช้โปรแกรม Microsoft Office ของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)

ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
การใช้งานโปรแกรม SPSS
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การวัด Measurement.
กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
การศึกษาพฤติกรรมการส่งงานของนักเรียนชั้น ปวช.ปีที่ ๒ สาขาการบัญชี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การวิเคราะห์และการแปลผล
การวิเคราะห์แปลผลข้อมูล
สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วัตถุประสงค์การวิจัย
บทที่ 11 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
การนำเสนอผลงานการวิจัย
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
Supply Chain Management
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
การใช้รูปแบบการแนะแนวสำหรับการแก้ปัญหาผู้เรียน ให้เป็นคนดีของสังคม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สถิติเพื่อการวิจัย อัญชลี จันทาโภ.
การวิเคราะห์ความแปรปรวน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยและสัดส่วน Tests concerning means and proportions

การทดสอบเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยในหนึ่งตัวอย่าง การทดสอบนี้ใช้ได้กับข้อมูลในมาตราอันตรภาคและมาตราอัตราส่วน โดยมีการสุ่ม กลุ่มตัวอย่างมา 1 กลุ่ม แล้วคำนวณหาค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง ( x ) แล้วนำไป เปรียบเทียบกับค่าใดค่าหนึ่งใน 2 ค่าต่อไปนี้ 1. ค่าเฉลี่ยของกลุ่มประชากรที่รู้ค่าแล้ว ( ) หรือ 2. ค่าตัวเลขค่าหนึ่งซึ่งผู้วิจัยถือว่าเป็นค่าเฉลี่ยของกลุ่มประชากร

เมื่อนำ x ไปเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของกลุ่มประชากร จากการใช้สถิติเชิงอ้างอิงจะทำให้ผู้วิจัยสรุปได้ว่า ค่าเฉลี่ย ที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างกลุ่มหนึ่ง ( x ) ซึ่งสุ่มมาจาก ประชากรที่มีการแจกแจงเป็นปกติ เป็นค่าเดียวกับ ค่าเฉลี่ยของกลุ่มประชากร ( ) หรือไม่ ซึ่งสถิติที่ใช้ สำหรับการทดสอบเรื่องนี้ คือ การทดสอบค่าซี ( Z-test ) และการทดสอบค่าที ( t-test )

ตามทฤษฎี t-test ใช้เมื่อกลุ่มตัวอย่างมีขนาด เล็ก แต่ในทางปฏิบัติ t-test ใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ขนาดใดก็ได้ ขอเพียงประชากรของกลุ่ม ตัวอย่างที่สุ่มมามีการแจกแจงแบบปกติ หรือเข้า ใกล้การแจกแจงปกติก็ได้

ค่าพารามิเตอร์ที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการทดสอบ ค่าสถิติภาคบรรยาย ค่าพารามิเตอร์ที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการทดสอบ ค่า t , df, และระดับนัยสำคัญ

การทดสอบค่าเฉลี่ยในสองตัวอย่าง ข้อมูลที่นำมาเปรียบเทียบกันมาจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม และเป็นข้อมูลใน มาตราอันตรภาคหรืออัตราส่วน โดยนำค่าเฉลี่ย ( X ) ที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างทั้ง สองมาเปรียบเทียบกัน ลักษณะของการทดสอบแยกได้ 2 ลักษณะ คือ 1. การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองค่าที่ได้จาก กลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน (Independent Samples) 2. การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองค่าที่ได้จาก กลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่ไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent Samples)

H1 and H4 are directional hypotheses with Levene’s test not significant, thus significant values when equal variance assumed are used. It should be noted that the SPSS calculated values for H1 and H4 need to be divided by 2 as the nature of directional hypotheses. In contrast, H2 and H3 are non-directional hypotheses with equal variance not assumed, thus calculated significant values are used straight away

ผลการเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ Dependent Sample t-test ให้พิจารณาค่า t และระดับนัยสำคัญ (sig) ถ้าน้อยกว่าและเท่ากับ .05 คะแนนก่อนเรียนแตกต่างจากคะแนนหลังเรียนในกลุ่มประชากร

การวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of variance ในการศึกษาวิจัย ผู้วิจัยต้องการศึกษาพฤติกรรมหรือปรากฏการณ์ของหน่วย วิเคราะห์ที่เป็นเป้าหมายของการศึกษาเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ ขึ้นอยู่กับตัวแปร อิสระต่างๆ อีกหลายตัวซึ่งเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้เป็นการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม ตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไป เรียกว่า การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA)

วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ความแปรปรวน ตัวแปรอิสระ(เชิงคุณภาพ) มีผลหรือไม่มีผล ตัวแปรตาม(เชิงปริมาณ)

Basic concepts of ANOVA Source of Variance : Between-groups Variance : จะเป็นค่าที่แสดงให้เห็นถึงขนาดของความ แตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มต่างๆ Within-group Variance : เป็นค่าที่แสดงให้เห็นขนาดของความแตกต่างของ ข้อมูลแต่ละตัวที่รวบรวมมาภายในแต่ละกลุ่มว่ามีมากหรือน้อย Null Hypothesis H0 : µ1 = µ2= …= µk (เมื่อ k คือจำนวนกลุ่ม)

One-Way ANOVA with Post Hoc Comparisons เงื่อนไขการพิจารณาใช้:- ตัวแปรอิสระมีตั้งแต่ 3 ตัวแปร หรือมีค่ามากกว่า 2 ระดับขึ้นไป ตัวแปรตามมีเพียงหนึ่งตัว

One-Way ANOVA with Post-Hoc Comparisons Source of Variance df Sum of Square (SS) Mean Square (MS) F Between Groups k-1 SSB Within Group k(n-1) SSw= SST - SSB Total nk-1 SST MSB = F = MSw =

จึงพิจารณาการเปรียบเทียบรายคู่ (Post Hoc Comparisons) พิจารณาผลการวิเคราะห์ ANOVA ว่าSignificant หรือไม่จากระดับนัยสำคัญ ถ้า น้อยกว่าหรือเท่ากับ .05 แสดงว่ามีความแตกต่างเกิดขึ้นในการเปรียบเทียบหรือตัวแปรตามขึ้นอยู่กับตัวแปรต้น จึงพิจารณาการเปรียบเทียบรายคู่ (Post Hoc Comparisons)

Click

พิจารณาผลการเปรียบเทียบเป็นรายคู่ ถ้า Significant ก็แสดงว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

ในการปฏิบัติงานของพนักงาน Ex. กรอบแนวคิดการวิจัย(การค้นคว้าอิสระ ตัวแปรตาม : Interval ตัวแปรอิสระ ความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานของพนักงาน 1) ความรวดเร็วในการปฏิบัติงาน 2) ความถูกต้องในการปฏิบัติงาน 3) ความสามารถในการปฏิบัติงาน 4) ความสำเร็จตรงเวลาในการปฏิบัติงาน 5) บรรลุวัตถุประสงค์ในการปฏิบัติงาน ปัจจัยส่วนบุคคล 1. เพศ(Nominal) 2. อายุ(Ordinal) 3. การศึกษา(Ordinal) 4. สายงาน(Nominal) 5. รายได้ต่อเดือน(Ordinal) 6. ประสบการณ์(Nominal) t-test F-test

ระดับความพึงพอใจของลูกค้าธนาคารออมสิน ตัวอย่าง : กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ปัจจัยส่วนบุคคล - เพศ (Nominal) - อายุ (Ordinal) - การศึกษา (Ordinal) - อาชีพ (Nominal) - รายได้ต่อเดือน(Ordinal) - สถานภาพสมรส(Nominal) ระดับความพึงพอใจของลูกค้าธนาคารออมสิน 1. ด้านผลิตภัณฑ์ 2. ด้านราคา 2. ด้านช่องทางการบริการ 4. ด้านการส่งเสริมการตลาด 5. ด้านพนักงานให้บริการ 6. ด้านกระบวนการให้บริการ t-test F-test ปัจจัยการใช้บริการธนาคาร 1. ประเภทเงินฝากธนาคาร 2. เหตุผลที่มาใช้บริการ 3. ความถี่ในการใช้บริการ 4. ประเภทของบริการที่ใช้ 5. ระยะเวลาที่เป็นลูกค้าของธนาคาร F-test

ตัวอย่าง : กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ ปัจจัยในการปฏิบัติงาน - ลักษณะการปฏิบัติงาน - นโยบายและบริหารงาน - สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน - ความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน - ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน - ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน - ความมั่งคงและความพอใจในงาน ปัจจัยส่วนบุคคล - เพศ - อายุ - ระดับการศึกษา - ตำแหน่ง/หน้าที่ - ระยะเวลาการทำงาน - รายได้เฉลี่ยต่อเดือน - สถานภาพสมรส Chi-square F-test ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานฯ - ความรวดเร็วในการปฏิบัติงาน - ความถูกต้องในการปฏิบัติงาน - ความสามารถในการปฏิบัติงาน - ความสำเร็จตรงเวลาในการปฏิบัติงาน - การบรรลุวัตถุประสงค์การปฏิบัติงาน t-test F-test 22

ตัวอย่าง : กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ปัจจัยส่วนบุคคล(ผู้ใช้บริการ) - เพศ - อายุ - การศึกษา - อาชีพ - รายได้ - สถานภาพ ความคิดเห็นต่อบริหารจัดการฯ - ด้านการวางแผน - ด้านจัดการองค์เพื่อบริการ ด้านการจูงใจเพื่อใช้บริการ ด้านการควบคุมคุณภาพให้บริการ t-test F-test Multiple Regression Chi-square t-test F-test ระดับความพึงพอใจที่ใช้บริการฯ 1. ด้านรูปแบบการให้บริการ 2. ด้านความถูกต้องการให้บริการ 3. ด้านความรวดเร็วในการให้บริการ 4. ด้านความประทับใจในการให้บริการ 5. ด้านความสะดวกที่จะมาใช้บริการอีก พฤติกรรมการใช้บริการฯ - การเป็นลูกค้าที่มีเงินฝากกับธนาคาร - เหตุผลที่มาลูกค้าเพื่อใช้บริการ - การมาใช้บริการธนาคารเฉลี่ยต่อเดือน - ประเภทบริการใดที่ท่านใช้อยู่ในปัจจุบัน - ระยะเวลาที่เป็นลูกค้าของธนาคาร F-test 23