รพ.พุทธมณฑล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์พิทยา ไพบูลย์ศิริ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี สิงหาคม 2560.
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด
พัฒนาระบบบริการคัดกรองเบาหวาน ขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวาน
Service Profile : งานกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
Service Profile หอผู้ป่วย กุมารเวชกรรม
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รพ.พุทธมณฑล

การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน คณะกรรมการดูแลด้านคลินิก (PCT) แบบบูรณาการ คณะกรรมการดูแลด้านคลินิก (PCT) โรงพยาบาลพุทธมณฑล

ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ อันดับ 2 ผู้ป่วยนอก อันดับ 2 ผู้ป่วยใน จำนวนผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มสูงขึ้น มีภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า คุณภาพชีวิตผู้ป่วยแย่ลง ค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง

ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ(ต่อ) ผู้ป่วยรอตรวจนาน เพิ่มบุคลากรในการดูแลมากขึ้น เพิ่มภาระของครอบครัวด้านร่างกาย จิตใจ

การเปลี่ยนแปลง จัดทำ CPG และ Standing Order พัฒนาบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานให้ได้ ตามมาตรฐาน โดยส่งบุคลากร องค์กรแพทย์ เภสัชกรรม พยาบาลวิชาชีพ ครอบครัวและ ชุมชนเข้ารับการอบรม

แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย Hypoglycemia DTX ≤ 60 Mg% ซึม, ไม่รู้สึกตัว รู้สึกตัวดี ดื่มน้ำหวาน 1 แก้ว รายงานแพทย์เวร (ER) 50% glucose 50 cc. vein push stat 10% D/N/2 1,000 cc vein 80 cc/hr Admit (Standing order) เจาะ DTX ซ้ำอีก 1 hr. DTX ≤ 60 Mg% DTX ≥ 60 Mg% รายงานแพทย์เวร (ER) 50% glucose 50 cc. vein push stat 10% D/N/2 1,000 cc vein 80 cc/hr Admit (Standing order) ส่งพบแพทย์ (OPD)

แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย Hyperglycemia DTX = 180 – 250 Mg% DTX = 251 – 400 Mg% DTX > 400 Mg% รายงานแพทย์ RI 10 unit vein stat 0.9% NSS 1,000 cc. vein 80 cc/hr Admit (Standing order) พิจารณาปรับยาเบาหวาน พิจารณาการใช้ Insulin ในกรณี max dose oral drug พิจารณาปรับยาเบาหวาน พิจารณาการใช้ Insulin ในกรณี max dose oral drug ส่ง ER ฉีด RI ตาม scale ต่อไปนี้ * DTX = 251 – 300 mg% RI 6 unit sc. Stat * DTX = 301 – 350 mg% RI 8 unit sc. Stat * DTX = 351 – 400 mg% RI 10 unit sc. Stat เกณฑ์การนัดผู้ป่วยเบาหวาน FBS = 60 – 180 mg% นัด 1 เดือน = 181 – 250 mg% นัด 2 สัปดาห์ – 1 เดือน = 251 – 400 mg% นัด 1 สัปดาห์ – 2 สัปดาห์

การเปลี่ยนแปลง จัดกิจกรรมส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ป่วย ครอบครัวชุมชน โดยการจัดกิจกรรมในคลินิก เบาหวาน การเยี่ยมบ้าน

การเปลี่ยนแปลง เพิ่มการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า ไขมันในเลือด

การเปลี่ยนแปลง ทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง กำหนดตัวชี้วัด กำหนดการติดตาม ประเมินผลการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน

การเปลี่ยนแปลง เริ่มพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานใน โรงพยาบาลตำบลและสถานีอนามัยในเครือข่าย

สรุปผลงานโดยย่อ / เป้าหมาย ทุกหน่วยงานดูแลผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน การคัดกรอง การปรับพฤติกรรม การดูแลรักษา ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน โดยความร่วมมือของผู้ป่วย ครอบครัวและชุมชน เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดี ลดอัตราป่วยรายใหม่ อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง

เครื่องชี้วัดการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน การวัดผล เครื่องชี้วัดการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป้าหมาย ระดับที่ปฏิบัติได้ ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 (ต.ค.52-มิ.ย.53) เชิงผลลัพธ์ 1. อัตราผู้ป่วยเบาหวานมี FBS 70-130 mg% ≥ 40% 29.05 34.19 35.87 2. อัตราผู้ป่วยเบาหวานมี HbA1C <6.5 mg% 25.63 31.74 32.82 3. อัตราการเกิด Hypoglycemia <60 mg% < 2% 1.06 0.90 1.28 4. อัตราการเกิด Hyperglycemia ≥200 mg% < 10% 12.50 8.82 5.03 5. อัตราผู้ป่วยเบาหวานเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา < 5% 3.18 4.49 7.85 6. อัตราผู้ป่วยเบาหวานเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต 1.04 1.18 7. อัตราการเกิดแผลเบาหวาน (รายใหม่) 2.06 1.90 1.82 8. อัตรา Re-admit ภายใน 28 วัน < 3% 2.16 9.38 4.94 9. อัตราวันนอนเฉลี่ย < 5 วัน 4.52 5.35 4.4 10. อัตราผู้ป่วยเบาหวานเกิดภาวะ Ac. Stroke 1.03 0.70 0.32 11. อัตราการขาดนัด เกิน 1 สัปดาห์ 13.75 8.05 1.74

เครื่องชี้วัดการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน การวัดผล เครื่องชี้วัดการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป้าหมาย ระดับที่ปฏิบัติได้ ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 (ต.ค.52-มิ.ย.53) เชิงกระบวนการ 12. อัตราการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ≥ 70% 77.11 81.20 71.10 13. อัตราการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน - ไขมันในเลือด / HbA1C > 80% 92.16 85.74 93.79 - ตรวจจอประสาทตา 81.12 62.50 84.65 - ตรวจการทำงานของไต Cr, Urine Albumin, Micro Albuminuria - ตรวจเท้า (Monofilament) 61.75 74.48 95.68 14. อัตราการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน > 60% 60.45 61.18 80.92 เชิงผลกระทบ 15. อัตราความพึงพอใจ ≥ 85% 95.51 98.08 93

การดูแลผู้ป่วยโดยทีมสหวิชาชีพ ผลลัพธ์ คุณภาพชีวิตดีขึ้น ลดภาระการดูแลผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วยโดยทีมสหวิชาชีพ การคัดกรอง การรักษาพยาบาล การสร้าง/ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ ครอบคลุม เกิดประสิทธิภาพ อัตราการป่วยและภาวะแทรกซ้อนลดลง

ผลลัพธ์ มาตรฐานในการดูแลผู้ป่วย แนวทางการดูแล เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทิศทางเดียวกัน การสื่อสาร ประสานงานที่ดี

ขอบคุณค่ะ

ADL ก่อนการดูแล 45 คะแนน ADL หลังการดูแล 90 คะแนน

กราฟแสดงการคัดกรองโรคเบาหวานกลุ่มเสี่ยง

กราฟแสดงตัวชี้วัดการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน

ข้อมูลด้านคุณลักษณะประชากร

กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน โดยแบ่งตามเพศ