รพ.พุทธมณฑล
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน คณะกรรมการดูแลด้านคลินิก (PCT) แบบบูรณาการ คณะกรรมการดูแลด้านคลินิก (PCT) โรงพยาบาลพุทธมณฑล
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ อันดับ 2 ผู้ป่วยนอก อันดับ 2 ผู้ป่วยใน จำนวนผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มสูงขึ้น มีภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า คุณภาพชีวิตผู้ป่วยแย่ลง ค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ(ต่อ) ผู้ป่วยรอตรวจนาน เพิ่มบุคลากรในการดูแลมากขึ้น เพิ่มภาระของครอบครัวด้านร่างกาย จิตใจ
การเปลี่ยนแปลง จัดทำ CPG และ Standing Order พัฒนาบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานให้ได้ ตามมาตรฐาน โดยส่งบุคลากร องค์กรแพทย์ เภสัชกรรม พยาบาลวิชาชีพ ครอบครัวและ ชุมชนเข้ารับการอบรม
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย Hypoglycemia DTX ≤ 60 Mg% ซึม, ไม่รู้สึกตัว รู้สึกตัวดี ดื่มน้ำหวาน 1 แก้ว รายงานแพทย์เวร (ER) 50% glucose 50 cc. vein push stat 10% D/N/2 1,000 cc vein 80 cc/hr Admit (Standing order) เจาะ DTX ซ้ำอีก 1 hr. DTX ≤ 60 Mg% DTX ≥ 60 Mg% รายงานแพทย์เวร (ER) 50% glucose 50 cc. vein push stat 10% D/N/2 1,000 cc vein 80 cc/hr Admit (Standing order) ส่งพบแพทย์ (OPD)
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย Hyperglycemia DTX = 180 – 250 Mg% DTX = 251 – 400 Mg% DTX > 400 Mg% รายงานแพทย์ RI 10 unit vein stat 0.9% NSS 1,000 cc. vein 80 cc/hr Admit (Standing order) พิจารณาปรับยาเบาหวาน พิจารณาการใช้ Insulin ในกรณี max dose oral drug พิจารณาปรับยาเบาหวาน พิจารณาการใช้ Insulin ในกรณี max dose oral drug ส่ง ER ฉีด RI ตาม scale ต่อไปนี้ * DTX = 251 – 300 mg% RI 6 unit sc. Stat * DTX = 301 – 350 mg% RI 8 unit sc. Stat * DTX = 351 – 400 mg% RI 10 unit sc. Stat เกณฑ์การนัดผู้ป่วยเบาหวาน FBS = 60 – 180 mg% นัด 1 เดือน = 181 – 250 mg% นัด 2 สัปดาห์ – 1 เดือน = 251 – 400 mg% นัด 1 สัปดาห์ – 2 สัปดาห์
การเปลี่ยนแปลง จัดกิจกรรมส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ป่วย ครอบครัวชุมชน โดยการจัดกิจกรรมในคลินิก เบาหวาน การเยี่ยมบ้าน
การเปลี่ยนแปลง เพิ่มการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า ไขมันในเลือด
การเปลี่ยนแปลง ทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง กำหนดตัวชี้วัด กำหนดการติดตาม ประเมินผลการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน
การเปลี่ยนแปลง เริ่มพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานใน โรงพยาบาลตำบลและสถานีอนามัยในเครือข่าย
สรุปผลงานโดยย่อ / เป้าหมาย ทุกหน่วยงานดูแลผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน การคัดกรอง การปรับพฤติกรรม การดูแลรักษา ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน โดยความร่วมมือของผู้ป่วย ครอบครัวและชุมชน เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดี ลดอัตราป่วยรายใหม่ อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง
เครื่องชี้วัดการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน การวัดผล เครื่องชี้วัดการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป้าหมาย ระดับที่ปฏิบัติได้ ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 (ต.ค.52-มิ.ย.53) เชิงผลลัพธ์ 1. อัตราผู้ป่วยเบาหวานมี FBS 70-130 mg% ≥ 40% 29.05 34.19 35.87 2. อัตราผู้ป่วยเบาหวานมี HbA1C <6.5 mg% 25.63 31.74 32.82 3. อัตราการเกิด Hypoglycemia <60 mg% < 2% 1.06 0.90 1.28 4. อัตราการเกิด Hyperglycemia ≥200 mg% < 10% 12.50 8.82 5.03 5. อัตราผู้ป่วยเบาหวานเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา < 5% 3.18 4.49 7.85 6. อัตราผู้ป่วยเบาหวานเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต 1.04 1.18 7. อัตราการเกิดแผลเบาหวาน (รายใหม่) 2.06 1.90 1.82 8. อัตรา Re-admit ภายใน 28 วัน < 3% 2.16 9.38 4.94 9. อัตราวันนอนเฉลี่ย < 5 วัน 4.52 5.35 4.4 10. อัตราผู้ป่วยเบาหวานเกิดภาวะ Ac. Stroke 1.03 0.70 0.32 11. อัตราการขาดนัด เกิน 1 สัปดาห์ 13.75 8.05 1.74
เครื่องชี้วัดการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน การวัดผล เครื่องชี้วัดการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป้าหมาย ระดับที่ปฏิบัติได้ ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 (ต.ค.52-มิ.ย.53) เชิงกระบวนการ 12. อัตราการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ≥ 70% 77.11 81.20 71.10 13. อัตราการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน - ไขมันในเลือด / HbA1C > 80% 92.16 85.74 93.79 - ตรวจจอประสาทตา 81.12 62.50 84.65 - ตรวจการทำงานของไต Cr, Urine Albumin, Micro Albuminuria - ตรวจเท้า (Monofilament) 61.75 74.48 95.68 14. อัตราการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน > 60% 60.45 61.18 80.92 เชิงผลกระทบ 15. อัตราความพึงพอใจ ≥ 85% 95.51 98.08 93
การดูแลผู้ป่วยโดยทีมสหวิชาชีพ ผลลัพธ์ คุณภาพชีวิตดีขึ้น ลดภาระการดูแลผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วยโดยทีมสหวิชาชีพ การคัดกรอง การรักษาพยาบาล การสร้าง/ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ ครอบคลุม เกิดประสิทธิภาพ อัตราการป่วยและภาวะแทรกซ้อนลดลง
ผลลัพธ์ มาตรฐานในการดูแลผู้ป่วย แนวทางการดูแล เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทิศทางเดียวกัน การสื่อสาร ประสานงานที่ดี
ขอบคุณค่ะ
ADL ก่อนการดูแล 45 คะแนน ADL หลังการดูแล 90 คะแนน
กราฟแสดงการคัดกรองโรคเบาหวานกลุ่มเสี่ยง
กราฟแสดงตัวชี้วัดการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน
ข้อมูลด้านคุณลักษณะประชากร
กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน โดยแบ่งตามเพศ