หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
ด้านบริหารงานวิชาการ ฉบับปรับปรุง มิถุนายน 2554
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.

ขั้นตอนการดำเนินการของสถาบันอุดมศึกษา
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ ฉบับที่ 2 ( พ. ศ. 2557) เรื่อง แก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์ และ วิธีการในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน หลักสูตร คณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
การเขียนรายงาน ผลการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
จำลอง บุญเรืองโรจน์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต ๑วันที่ ๒ มิถุนายน พ. ศ. ๒๕๕๘.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ระดับความสำเร็จในการแก้ไข เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คณะแพทยศาสตร์ ด้วยความยินดียิ่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอต้อนรับทุกท่าน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 ดร. ธีรวรรค์ วระพงษ์สิทธิกุล ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา https://www.teerawan.wordpress.com

ตามประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา เรื่องหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 ลงวันที่ 20 พฤษภาคม 2558 เห็นสมควรให้มีการปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 ตามประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา ลงวันที่ 1 สิงหาคม 2555 1. ให้แก้ไขข้อความในข้อ 5. ข้อ 6. และข้อ 7. ของแนวปฏิบัติในการปฏิบัติการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 5. ให้สถานศึกษาดำเนินการ “ตามเกณฑ์การดำเนินการตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555” โดยมีเป้าหมายให้เกิดผลในระดับคุณภาพ “ดีมาก” ในทุกตัวบ่งชี้ (ของเดิม แต่ละตัวบ่งชี้จะต้องได้คะแนนตามเกณฑ์การตัดสินไม่ต่ำกว่า 3 คะแนน และคะแนนเฉลี่ยจากทุกตัวบ่งชี้ไม่ต่ำกว่า 3.5 คะแนน)

1. (ต่อ) 6. ในการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ถ้าตัวบ่งชี้ใดอยู่ในระดับคุณภาพ “ต้องปรับปรุง” หรือ “ต้องปรับปรุงเร่งด่วน” สถานศึกษาต้องวิเคราะห์สาเหตุ และพัฒนาให้อยู่ในระดับคุณภาพตั้งแต่ “พอใช้” ขึ้นไป ในปีถัดไป ถ้าไม่สามารถปฏิบัติได้ ให้หน่วยงานต้นสังกัด กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ส่งเสริม สนับสนุนและร่วมกับสถานศึกษาพัฒนาเพื่อให้อยู่ในระดับคุณภาพตั้งแต่ “พอใช้” ขึ้นไป ภายในปีต่อไป (ของเดิมใช้เกณฑ์การประเมินตามข้อ 5 และให้ผ่านเกณฑ์การประเมินในปีต่อไป)

1. (ต่อ) 7. ในการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด เพื่อติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 3 ปี ถ้าตัวบ่งชี้ใดอยู่ในระดับคุณภาพ “ต้องปรับปรุง” หรือ “ต้องปรับปรุงเร่งด่วน” หน่วยงานต้นสังกัดต้องวิเคราะห์สาเหตุ ให้ข้อเสนอแนะ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ส่งเสริม สนับสนุนและร่วมกับสถานศึกษาพัฒนา เพื่อให้อยู่ในระดับคุณภาพ ตั้งแต่ “พอใช้” ขึ้นไป โดยให้มีการประเมินซ้ำในปีถัดไป(ของเดิมใช้เกณฑ์การประเมินตามข้อ 5 และให้ประเมินซ้ำในปีต่อไป)

2. ให้ปรับปรุง “เกณฑ์การตัดสิน” ของตัวบ่งชี้ที่ 1.1,1.3, 1.6, 1.7, 1.8, 8.6, 8.8, และ 8.9 รวม 8 ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การตัดสิน ให้เทียบบัญญัติไตรยางค์ ทศนิยมสองตำแหน่งไม่ปัดเศษ โดยให้กำหนดผลจากประเด็น การพิจารณา ตั้งแต่ร้อยละ 80.00 ขึ้นไป เทียบได้ค่าคะแนน 5.00 สูตรคำนวณค่าคะแนน = ร้อยละจากประเด็นพิจารณา x 5 80 ของเดิม ของใหม่ ระดับคุณภาพ เกณฑ์ การตัดสิน ค่าคะแนน ดีมาก ร้อยละ 80 ขึ้นไป 5 ดี ร้อยละ 70-79.99 4 พอใช้ ร้อยละ 60-69.99 3 ต้องปรับปรุง ร้อยละ 50-59.99 2 ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ต่ำกว่า ร้อยละ 50 1 ระดับคุณภาพ ค่าคะแนน ดีมาก 4.51-5.00 ดี 3.51-4.50 พอใช้ 2.51-3.50 ต้องปรับปรุง 1.51-2.50 ต้องปรับปรุงเร่งด่วน 0.00-1.50

ให้ปรับปรุง “เกณฑ์การตัดสิน” ของตัวบ่งชี้ที่ 1.4,1.5 รวม 2 ตัวบ่งชี้ 3. ให้ปรับปรุง “เกณฑ์การตัดสิน” ของตัวบ่งชี้ที่ 1.4,1.5 รวม 2 ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การตัดสิน ให้เทียบบัญญัติไตรยางค์ ทศนิยมสองตำแหน่งไม่ปัดเศษ โดยให้กำหนดผลจากประเด็น การพิจารณา ตั้งแต่ร้อยละ 50.00 ขึ้นไป เทียบได้ค่าคะแนน 5.00 สูตรคำนวณค่าคะแนน = ร้อยละจากประเด็นพิจารณา x 5 50 ของเดิม ของใหม่ ระดับคุณภาพ เกณฑ์ การตัดสิน ค่าคะแนน ดีมาก ร้อยละ 65 ขึ้นไป 5 ดี ร้อยละ 55-64.99 4 พอใช้ ร้อยละ 45-54.99 3 ต้องปรับปรุง ร้อยละ 35-44.99 2 ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ต่ำกว่า ร้อยละ 35 1 ระดับคุณภาพ ค่าคะแนน ดีมาก 4.51-5.00 ดี 3.51-4.50 พอใช้ 2.51-3.50 ต้องปรับปรุง 1.51-2.50 ต้องปรับปรุงเร่งด่วน 0.00-1.50

4. ให้แก้ไข “คำอธิบาย” “การคำนวณ” “ประเด็นการพิจารณา” และ “เกณฑ์การตัดสิน” ของตัวบ่งชี้ที่ 1.3 คำอธิบาย จำนวนผู้เรียนในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพในการประเมินครั้งแรก เทียบร้อยละกับจำนวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร จำแนกตามระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานและภาพรวมของสถานศึกษา การคำนวณ ร้อยละ = จำนวนผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพในการประเมินครั้งแรก x 100 จำนวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร ประเด็นการพิจารณา ร้อยละของจำนวนผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพในการประเมินครั้งแรก เทียบกับจำนวนผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร โดยพิจารณาจากภาพรวมของสถานศึกษา

ต้องปรับปรุงเร่งด่วน เกณฑ์การตัดสิน ให้เทียบบัญญัติไตรยางศ์ ทศนิยมสองตำแหน่งไม่ปัดเศษ โดยกำหนดผลจากประเด็นการพิจารณา ตั้งแต่ร้อยละ 80.00 ขึ้นไป เทียบได้ค่าคะแนน 5.00 สูตรคำนวณค่าคะแนน = ร้อยละจากประเด็นการพิจารณา x 5 80 ระดับคุณภาพ ค่าคะแนน ดีมาก 4.51-5.00 ดี 3.51-4.50 พอใช้ 2.51-3.50 ต้องปรับปรุง 1.51-2.50 ต้องปรับปรุงเร่งด่วน 0.00-1.50

กลุ่มส่งเสริมวิชาการ หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โทรศัพท์/โทรสาร 02-5101823 ต่อ 119,121 phongjar@hotmail.com teewara56@gmail.com https://www.teerawan.wordpress.com