แนวทางการส่งต่อ ผู้ป่วยSTEMI

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์การบาดเจ็บเสียชีวิต นครราชสีมา เทศกาลสงกรานต์
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
รพ.พุทธมณฑล.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
นพ. ธวัชชัย เศรษฐศุภพนา นายแพทย์เชี่ยวชาญ
บทบาทพยาบาลผู้จัดการรายกรณี ในผู้ป่วย STEMI
การดูแลระยะกลาง (Intermediate Care)
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
พัฒนาและจัดระบบบริการ ที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2 สาขาโรคหัวใจ
เอกรัฐ บูรณถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 7 มีนาคม 2559
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด
งาน Palliative care.
การส่งต่อข้อมูลเฉพาะโรคโดยใช้ โปรแกรม ThaiRefer
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
LTC + RTI + SP NCD + Mgt.(3) + คบ.
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
รพ.ค่ายสุรสีห์.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ครั้งที่ 7/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การประชุมคณะทำงานการดูแลผู้ป่วย โรคติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis) จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและเครือข่ายสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก.
ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐-๑๖.๐๐น. ณ ห้องประชุมม่วนอกม่วนใจ๋ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ห้องผ่าตัด วิสัญญีและ ห้องคลอด
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
Service Profile : งานกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
แนวปฏิบัติการคืนยาผู้ป่วยใน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
Safe Anesthesia in One Day Surgery
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan ข้อมูล ต.ค.59 – ม.ค.60 )
Service Profile หอผู้ป่วย กุมารเวชกรรม
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
Service Profile : ตึกศัลยกรรมกระดูก ความเสี่ยง/ความท้าทาย
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการส่งต่อ ผู้ป่วยSTEMI นางชนกพร อุตตะมะ APNs Med- Surge รพ.นครพิงค์

แนวทางการดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Acute Coronary Syndrome) เจ็บเค้นอกสงสัยเกิดจากโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน - เจ็บเค้นอกรุนแรงติดต่อกันมากกว่า 20 นาที - เจ็บเค้นอกรุนแรงขึ้นกว่าที่เคยเป็นมาก่อน บุคคลากรทางการแพทย์ประเมินภาวะเร่งด่วนและให้การบำบัดรักษาเบื้องต้น ❍ RecordV/SและเตรียมCPR ❍ ให้O2, aspirin 160 - 325 มก. เคี้ยว ❍ Nitroglycerin พ่นหรือSL ในผู้ที่เคยได้รับการวินิจฉัยโรคหัวใจ ขาดเลือดมาก่อน ❍ ให้รีบทำ EKG 12 lead ทันที และตามแพทย์โดยด่วน

Non ST-Elevation ประเมินเร่งด่วนโดยแพทย์ที่ห้องฉุกเฉิน (< 10 min) ❍ ตรวจติดตามสัญญาณชีพ ❍ เตรียมเปิดเส้นเลือดเพื่อให้ยาหรือสารน้ำ ❍ ประเมิน ECG 12 lead และตรวจซ้ำ ❍ ซักประวัติและตรวจร่างกายที่สำคัญ ❍ ส่งเลือดตรวจ cardiac marker, electrolyte และ การตรวจอื่นๆที่จำเป็น ❍ พิจารณาส่ง X- Ray ลักษณะ EKG 12-lead ST elevation หรือ พบ LBBB ที่เกิดขึ้นใหม่ Non ST-Elevation

Non ST-Elevation เข้าเกณฑ์ ST elevation หรือ พบ LBBB ที่เกิดขึ้นใหม่ ให้การรักษาเบื้องต้นก่อนโดยเร็วที่สุด ตามข้อบ่งชี้ ❍ β- blockers ตามข้อบ่งชี้ ❍ Clopidogrel หรือ Ticagrelor ในรายที่ไม่มีแผน ให้ยา Thrombolytic ❍ Heparin (UFH or LMWH) เข้าเกณฑ์ความเสี่ยงสูงหรือปานกลางหรือ Troponin ให้ผลบวกหรือไม่ ให้การรักษาเพิ่มเติมตามข้อบ่งชี้ ❍ Nitroglycerin ❍ β- blockers ❍ Clopidogrel ❍ Heparin (UFH or LMWH) ในรายที่ไม่มีแผนทำ PCI เข้าเกณฑ์ ไม่เข้าเกณฑ์ admission ICU/CCU หรือสังเกตอาการต่อ ร่วมกับ ❍ ติดตามอาการและสัญญาณชีพ ❍ ตรวจและติดตาม EKG 12 lead ซ้ำเป็นระยะ ❍ ตรวจ cardiac markers ซ้ำ เจ็บหน้าอก ภายใน 12 ชั่วโมง หรือไม่ > 12hr Admit CCU

< 12hr การรักษา ❍ ให้ ASA, heparin ❍ ให้การรักษาโดยการเปิดหลอดเลือด ให้SKก่อนหากมีข้อห้ามหรือสภาพผู้ป่วยไม่ เหมาะสม จึงพิจารณาทำPCI ❍ เป้าหมายในการเปิดหลอดเลือด - Door-to-balloon inflation (PCI) < 90 นาที - Door-to-needle (fibrinolysis) <30 นาที ❍ ให้การรักษาเพิ่มเติมดังนี้ - ACE inhibitors/(ARB) ภายใน 24 ชั่วโมง - Statin ❍ ให้ ASA, heparin ❍ Statin ❍ ACE inhibitor/ARB ❍ ยาอื่นตามข้อบ่งชี้ ❍ CXRหลอดเลือดหัวใจ หรือรักษาเพิ่มเติมด้วยวิธี revascularization หากผู้ป่วยมีลักษณะดังนี้ 1) เจ็บเค้นอกไม่คงที่เป็นๆ หายๆ 2) พบ ST depression เกิดขึ้นใหม่หรือมากขึ้น 3) พบ Ventricular tachycardia 4) มีภาวะการไหลเวียนโลหิตไม่คงที่ 5) มีภาวะหัวใจล้มเหลว 6) EF< 40% 7) ผลตรวจ stress test บ่งชี้ถึงความเสี่ยงสูง 8) เคยขยายหลอดเลือดหัวใจภายใน 6 เดือน 9) เคยผ่าตัดทางเบี่ยงหลอดเลือดแดงมาก่อน 10) ภาวะช็อกเหตุหัวใจควรรักษาภายใน 48 ชม.

แผนที่ โครงข่ายบริการหัวใจ สายเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ สายกลาง แม่ฮ่องสอน ลำพูน สายใต้

เครือข่ายประสานการส่งต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด จ. เชียงใหม่ รพ. ลำพูน รพ. ศรีสังวาลย์

ในระบบFast track STEMI Flow ของการส่งต่อ ในระบบFast track STEMI

การรับRefer ทางด่วน (Fast track) รพ. ที่ขอส่งต่อผู้ป่วยSTEMI รพ. นครพิงค์ ที่ CCU Tel. 0-5399-9200 ต่อ 2200 , 2204 หรือ 0-8586-71712 Fax. 0-5399-9200 ต่อ 2200 E- mail. nurseccu@hotmail.co.th Line : ID = CCUNPH ส่งข้อมูล C.C ( อาการเจ็บอก วัน เวลา) อาการปัจจุบัน, V/S การรักษาที่ได้รับ เช่นยาละลายลิ่มเลือด เวลา ขนาด เหตุผลขอส่งรักษาต่อ ประวัติโรคร่วม ส่ง Fax EKG ที่มีภาวะ STEMI ผลLab Trop- T, CK (ถ้ามี) เบอร์โทรฯกลับ

ส่งทำ Echoที่ห้องNoninvasive พยาบาล CCU นำ ประวัติ EKG consultแพทย์ cardio หรือ แพทย์เวร Med tel. กลับภายใน 15 นาที , tel แจ้ง call center รับRefer ส่งข้อมูล เอกสารฉบับจริง แจ้งข้อมูลญาติสายตรง และให้ญาติมากับPt. ให้ข้อมูลเพิ่มเติมกรณี อาการป.ป แจ้งหมายเลขบัตรปชช. 13 หลัก ที่อยู่ สิทธิ เพื่อทำบัตรให้ผู้ป่วยล่วงหน้า ถึงER รพ. นครพิงค์ พยาบาลหรือญาติที่มาส่ง ให้ขึ้นมาที่CCUพร้อมกับPt.และพยาบาลER โดยไม่ต้องยื่นทำบัตร ไม่รับRefer ให้ข้อมูลแนวทางการรักษา ให้ยาSK ในรพ.ที่มีศักยภาพใกล้เคียง ส่งต่อไปรพ. มหาราชฯ ประสานการนัด Case manager ติดตาม case ส่งทำ Echoที่ห้องNoninvasive

แนวทางการส่งต่อFast track STEMI

หรือดูแลผู้ป่วยSTEMI เอกสารในการส่งต่อ หรือดูแลผู้ป่วยSTEMI

CPG ของการดูแลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด กลุ่มงานอายุรกรรมโรงพยาบาลนครพิงค์ เอกสารหมายเลข5 แนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ชื่อผู้ป่วย..............HN…………AN……………เวลาที่ผู้ป่วยมาถึง ER …….. น. เวลาที่วินิจฉัยว่าเป็นกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน .............. น. เวลาที่ผู้ป่วยได้รับ Thrombolytic agent / Heparin ……… น. Day 1 (admit ) Day 2 Day 3 Day 4 Day 5 – D/C หอผู้ป่วย หอผู้ป่วยหนักโรคหัวใจ หอผู้ป่วยสามัญหากผู้ป่วยมีอาการคงที่ของสัญญาณชีพ อาการและอาการแสดง Consult กายภาพบำบัดสำหรับ cardiac rehabilitation โภชนาการ เภสัชกรสำหรับให้ความรู้เรื่อง Antipletelet : ASA Plavix Beta – blocker Nitrate ACEI Other.......................... D / C กายภาพบำบัดทบทวนกิจกรรม โภชนากรทบทวนความรู้ เภสัชกรทบทวนความรู้เกี่ยวกับยา Tests 12 lead ECG CXR Cardiac enzimes (D1) Troponin T CBC BUN, Cr ,Elyte PT , PTT FBS Lipid profile ABG or Pulse oxymetry CBC as needed Elyte as needed Echocardiogram as needed Pulse oxymetry

แบบบันทึกการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ

ตัวชี้วัดตาม service plan ส่งกระทรวง 1. อัตราตายของผู้ป่วย STEMI NSTEMI และ Unstable angina ลดลง 2. อัตราการได้รับการรักษาผู้ป่วย STEMI ด้วยการเปิดหลอดเลือดเพิ่มขึ้น 3. อัตราการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจากภาวะหัวใจล้มเหลวลดลง 4. ร้อยละของโรงพยาบาล A-M2 ทีมี heart failure clinic เพิ่มขึ้น 5. ระยะเวลารอการผ่าตัดสั้นลง 6. ร้อยละของโรงพยาบาล A-F2 ที่มี warfarin clinic เพิ่มขึ้น 7. อัตราผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้ target INR เพิ่มขึ้น

ตัวชี้วัดSTEMI/NSTEMI 1. จำนวนผู้ป่วยSTEMI, NSTEMI, UA 2. door to needle time 3. onset to needle time 4. จำนวนผู้ป่วยที่ได้ยาStreptokinaseใน 30 นาที 5. อัตราผู้ป่วยที่มี Reperfusion 6. อัตราผู้ป่วยที่ได้ fibrinolysis แล้ว refer 7. จำนวนผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหลังได้ SK หลังทำ PCI 8. อัตราตายของSTEMI, NSTEMI, UA

โปรแกรมการเก็บข้อมูล UCHA-ACS

การเก็บข้อมูล ของเขตล้านนา

ตัวชี้วัดเขต ข้อมูลทั่วไป 1.1 จำนวน รพ.ในเครือข่าย 1.2 จำนวนเตียงในรพ ส่งตัวชี้วัดที่รวบรวมทุก 3 เดือนที่แม่ข่าย เชียงใหม่ ส่งที่เลขาฯservice plan ที่ นางชนกพร อุตตะมะ E- mail adress Chanokporn251041@gmail.com ตัวชี้วัดเขต ข้อมูลทั่วไป 1.1 จำนวน รพ.ในเครือข่าย 1.2 จำนวนเตียงในรพ 1.3 จำนวนประชากรที่รับผิดชอบ

ตัวชี้วัดเขต 2. งานบริการ 2.1 STEMI - จำนวนรพ.ที่ได้รับยาSK - จำนวนผู้ป่วยPrimary PCI - จำนวนผู้ป่วยที่ได้ SK (ราย) - ผู้ป่วยSTEMI ที่ Reperfusion therapy (จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการเปิดหลอดเลือดด้วยSK+PCI) - อัตราตายSTEMI in hospital - จำนวนผู้ป่วยSTEMI ที่ Refer out สู่ศักยภาพที่สูงกว่า

ตัวชี้วัดเขต 2.2 NonSTEMI/UA - ผู้ป่วยเสียชีวิต NSTEMI < 5% - จำนวนผู้ป่วยNSTEMI U/A high risk ได้ทำ CAG - จำนวน รพ.ที่มี Clopidogrel - จำนวน รพ.ที่มี Enoxaparin 2.3 Warfarin - จำนวน รพ.ที่มีระบบการจัดการWarfarin clinic โดยสหสาขาวิชาชีพ - จำนวนรพ.ที่มียา warfarin - จำนวนรพ.ที่มีเครื่องตรวจ INR

ตัวชี้วัดเขต 2.4 CHF - จำนวนรพ.ที่มี CHF clinic ที่เป็นสหสาขาวิชาชีพ - จำนวนผู้ป่วยCHF ที่ได้ทำEcho - จำนวนผู้ป่วยCHF ที่เสียชีวิต - จำนวนรพ.ที่มียา ( ACEI/ARB+B-blocker+ Spironolactone)

ตัวชี้วัดเขต 2.5 Open Heart/ Cath lab - จำนวนรพ.ที่มีการผ่าตัด - Waiting time ของการรอผ่าตัด (< 4 เดือน) - Waiting time ของการรอผ่าตัด ( ราย) - จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตหลังการผ่าตัดหัวใจ - จำนวนผู้ป่วยที่เกิด major complication (E – I) หลังผ่าตัดหัวใจ - จำนวนผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจที่Refer out สู่ศักยภาพสูงกว่า - Waiting time ของการรอสวนหัวใจ (< 4 เดือน) - Waiting time ของการรอสวนหัวใจ (ราย) - จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตหลังการสวนหัวใจ < 2%ขณะอยู่ในรพ. - อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังทำหัตถการตรวจสวนหัวใจ

Thank you For Attention