งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นพ. ธวัชชัย เศรษฐศุภพนา นายแพทย์เชี่ยวชาญ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นพ. ธวัชชัย เศรษฐศุภพนา นายแพทย์เชี่ยวชาญ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นพ. ธวัชชัย เศรษฐศุภพนา นายแพทย์เชี่ยวชาญ
Service plan 5 สาขาหลัก สูตินรีเวชกรรม  ศัลยกรรม  อายุรกรรม  กุมารเวชกรรม  ออร์โธปิดิกส์ นพ. ธวัชชัย เศรษฐศุภพนา นายแพทย์เชี่ยวชาญ

2 โครงสร้างเขตบริการสุขภาพที่ 2
F₂= 7 A M₂ M₂ F1 M1 F₂ F₂ F₂= 6 M₂ F₂ A S S S M₂ ระดับ รพ. จำนวน A 2 S 4 M1 1 M2 6 F1 3 F2 27 F₂= 7 F₂ S M₂ F1= 2 F₂= 5 M₂

3 วัตถุประสงค์ ลดความแออัดในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ
เพิ่มศักยภาพการให้บริการ 5 สาขาหลักของ หน่วยบริการเครือข่าย เพื่อลดการส่งต่อไปยัง รพศ./รพท.ลดลง ร้อย ละ25 รับการส่งกลับ หลังผู้ป่วยพ้นระยะวิกฤต

4 สิ่งที่ประชาชนได้รับ
อุ่นใจ ใกล้บ้าน เข้าถึงง่าย และรวดเร็ว ลดระยะเวลารอคอย มาตรฐานเดียวกัน ลดค่าใช้จ่าย สร้างความเชื่อมั่นในบริการที่รัฐจัดให้

5 เป้าหมายของ สธ. เป้าหมายของ เขต 2
เพื่อเพิ่มศักยภาพ รพช. ระดับ M2 ลงมาให้สามารถรักษาผู้ป่วยในโรค 5 สาขาหลัก เพื่อลดการส่งต่อไปยัง รพศ./รพท. ลดลงร้อยละ 25 เป้าหมายของ เขต 2 รพ.ระดับ M2 สามารถผ่าตัดคลอดได้ร้อยละ 25 รพ.ระดับ M2 ลงไปผ่าตัด Appendectomy ได้ร้อยละ 25 รพ.ระดับ M2 ลงไปให้การดูแลรักษา sepsis ได้ ลดการส่งต่อไปยัง รพศ./รพท. ร้อยละ 30 รพ.ระดับ M2 ลงไปให้การดูแลรักษาเด็กที่มีภาวะ ARIC ได้ ลดการส่งต่อไปยัง รพศ./รพท. ร้อยละ 30 รพ.ระดับ M2 ลงไปให้การดูแลรักษา non displaced fracture ได้ร้อยละ 25

6 การส่งต่อเพื่อ C/S จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ
ราย รพ.M2 ทุกแห่ง สามารถให้การรักษา C/S

7 สาขาสูติกรรม GAP Analysis Service delivery
1. การส่งต่อC/S จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ ยังมีสูง เพิ่มศักยภาพการให้บริการในรพ.ระดับ M2 พัฒนาทักษะ รพช. /รพ.สต.ในการดูแล ANC คุณภาพ 2.พบว่าการส่งต่อผู้ป่วย Normal Labour สู่ รพท./รพศ. ยังมีสูง รพช.สามารถให้การดูแลผู้ป่วย Normal labour ทบทวนแนวทางการรับส่งต่อ

8 การส่งต่อในโรคใส้ติ่งอักเสบ จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ
ราย รพ.M2 สามารถให้การรักษา Appendicitis

9 อัตราการเสียชีวิตจากใส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน ใน รพช.

10 สาขาศัลยกรรม GAP Analysis Service delivery
1. การส่งต่อ Appendicitis จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ ยังมีสูง เพิ่มศักยภาพการให้บริการในรพ.ระดับ M2 มีการออกหน่วยเคลื่อนที่โดยทีมแพทย์ศัลยกรรม ในรพช.ระดับต่ำกว่า M2 ทำได้ในบางจังหวัด เช่นเพชรบูรณ์ ตาก เพิ่มการผ่าตัดไส้เลื่อนในรพ.ระดับ M2 โดยในระยะแรก เป็นการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่จาก รพ.แม่ข่าย

11 การส่งต่อ sepsis จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ
ราย

12 ร้อยละผู้ป่วยเสียชีวิตจาก Sepsis ไม่เกินร้อยละ 30

13 สาขาอายุรกรรม GAP Analysis Service delivery
1. ประชาชนเข้าถึงบริการช้า ไม่รู้ว่าตนเองติดเชื้อในกระแสเลือด ออกสื่อให้ความรู้กับประชาชนให้มีความรู้ในการเฝ้าระวังตนเองการติดเชื้อในกระแสเลือด 2. ติดเชื้อโรคดื้อยา เพิ่มรายการยาต้านจุลชีพในรพ. 3. ระบบบริการทางการแพทย์ - ซักประวัติตรวจร่างกายไม่ละเอียด - ขาดความรู้เรื่อง sepsis ทำให้การรักษาเบื้องต้นล่าช้า - การสนับสนุนเรื่องยาต้านจุลชีพ มีการจำกัดการใช้ยา - LAB มีการเก็บสิ่งส่งตรวจไม่ครบถ้วน จัดทำแนวทางวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด อบรมพยาบาลเพื่อสามารถเป็น sepsis nurse รพ.แม่ข่ายสนับสนุน ขวด Hemo – culture พัฒนาคุณภาพการรักษาโดยเก็บข้อมูลการได้รับยา Antibiotic ภายใน 1 ชม.

14 การส่งต่อในโรคARIC ในเด็ก จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ
ราย

15 สาขากุมารเวชกรรม GAP Analysis Service delivery
1. รพช. ส่วนใหญ่ไม่สามารถดูแลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยได้ เพิ่มศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์ให้สามารถใช้เครื่องช่วยหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยโรค ARIC สูง 1. พัฒนาระบบ Fast tract

16 การส่งต่อNon Displace Fracture จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ
ราย

17 สาขาออร์โธปิดิกส์ GAP Analysis Service delivery
การส่งต่อ non displaced fracture จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ ยังมีสูง (ความต้องการของผู้ป่วยและญาติ) 2. แพทย์ในรพช.มีการหมุนเวียนบ่อย เพิ่มทักษะแพทย์ก่อนออกไป รพช. 3. ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนจากการดูแล และส่งต่อ ที่ไม่ถูกวิธีเป็นจำนวนมาก พัฒนารพช. F1 ลงไปให้สามารถดูแลผู้ป่วยที่ใช้ External skeletal traction (ส่งกลับไปดูแล) 4. มีข้อจำกัดเครื่องมือในการ Rehabilitation ในรพช. และรพ.สต. เพิ่มทักษะเจ้าหน้าที่ในการฟื้นฟูผู้ป่วย

18 การขอยกระดับสถานบริการ
ตาก รพ.แม่ระมาด จากF2 เป็น F1 รพ.พบพระ จากF2 เป็น F1 สุโขทัย 1. รพ.ศรีสังวรสุโขทัย จากM1เป็น S 2. รพ.ศรีสัชนาลัยปรับ F2เป็นM2 3. รพ.คีรีมาศปรับ30เตียงเป็น 60เตียง พิษณุโลก 1. รพ.สมเด็จพระยุพราชนครไทยจาก M2 เป็น M1 2. รพ.วังทอง จาก F2 เป็น F1 เพชรบูรณ์ 1.รพ. วิเชียรบุรี จาก M2 เป็น M1 2.รพ.หล่มสัก จาก M2 เป็น M1 3.รพ. หนองไผ่ จาก F1 เป็น M1 4.สมเด็จพระยุพราชหล่มเก่า จาก F1 เป็น M1 อุตรดิตถ์ 1.รพ.อุตรดิตถ์ ปี 2561 ขอปรับขนาดเตียงเป็น 680 เตียง ปี 2564 ขอปรับขนาดเตียงเป็น 800 เตียง 2.รพ.พิชัย และรพ.ลับแล จาก F2 เป็น F1

19 โครงสร้างเขตบริการสุขภาพที่ 2
F₂= 7 A M₂ M₂ F1 M1 F₂ F₂ F₂= 6 M₂ F₂ A S S S M₂ ระดับ รพ. จำนวน A 2 S 4 M1 1 M2 6 F1 3 F2 27 F₂= 7 F₂ S M₂ F1= 2 F₂= 5 M₂

20 การยกระดับสถานบริการ
A=680 เตียง F₂= 7 M₂ M₂ F1 S F₂ F₂= 5 F₂ M₂ M1 F1 A S S S F1 F₂= 6 F1 S M1 = 4 F₂= 5 M₂

21 แพทย์เฉพาะทาง 5 สาขา 9 6 17 7 10 4 41 8 12 5 28 13 40 36 27 34 รวม 43
จังหวัด สูติ ศัลย์ MED กุมารฯ Ortho วิสัญญี วิสัญญีพยาบาล ตาก 9 6 17 7 10 4 41 สุโขทัย 8 12 5 28 พิษณุโลก 13 40 36 27 เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ 34 รวม 43 74 92 63 49 30 184

22 แพทย์เฉพาะทาง 5 สาขา ในรพ.ระดับ M2
จังหวัด สูติ ศัลย์ MED กุมารฯ Ortho วิสัญญี วิสัญญีพยาบาล รพ.อุ้มผาง 1 (ไปเรียนปี59) 1 5 (จบปี58 1 คน) รพ.ท่าสองยาง 1 (จบปี 60) 3 รพ.สวรรคโลก 5 รพร.นครไทย 1 (จบปี 61) 2 รพ.วิเชียรบุรี 4 รพ.หล่มสัก

23 วัตถุประสงค์ ลดความแออัดในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ
เพิ่มศักยภาพการให้บริการ 5 สาขาหลักของ หน่วยบริการเครือข่าย เพื่อลดการส่งต่อไปยัง รพศ./รพท.ลดลง ร้อยละ25 รับการส่งกลับ หลังผู้ป่วยพ้นระยะวิกฤต

24 สิ่งที่ประชาชนได้รับ
อุ่นใจ ใกล้บ้าน เข้าถึงง่าย และรวดเร็ว ลดระยะเวลารอคอย มาตรฐานเดียวกัน ลดค่าใช้จ่าย สร้างความเชื่อมั่นในบริการที่รัฐจัดให้


ดาวน์โหลด ppt นพ. ธวัชชัย เศรษฐศุภพนา นายแพทย์เชี่ยวชาญ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google