งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐-๑๖.๐๐น. ณ ห้องประชุมม่วนอกม่วนใจ๋ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐-๑๖.๐๐น. ณ ห้องประชุมม่วนอกม่วนใจ๋ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐-๑๖.๐๐น. ณ ห้องประชุมม่วนอกม่วนใจ๋ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

2 โครงการงบพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๑
ปี ๒๕๖๐ โครงการพัฒนาหน่วยกู้ชีพจังหวัดเชียงใหม่ วงเงิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านห้าแสนบาทถ้วน) mou เมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๖๐ มอบให้ อบต.สบโขง อำเภอแม่แจ่ม ได้รับงบประมาณเพิ่ม ๑ คัน

3 งบพัฒนาจังหวัด ปี ๒๕๖๑ โครงการพัฒนางานการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่
ปี ๒๕๖๑ โครงการพัฒนางานการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ วงเงิน ๗,๒๕๐,๐๐๐ บาท (เจ็ดล้านสองแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) ตัวชี้วัด หน่วยนับ ปี ๒๕๕๙แผน (ผล)* ปี ๒๕๖๐ แผน ปี ๒๕๖๑ 1. มีรถพยาบาลขับเคลื่อน ๔ ล้อ พร้อมอุปกรณ์กู้ชีพ ให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับตำบลอย่างเต็มรูปแบบ ในพื้นที่เป้าหมายเพิ่มขึ้น คัน ๒. มีรถพยาบาลพร้อมอุปกรณ์กู้ชีพ (รถตู้ Ambulance) ๓. มีอุปกรณ์กู้ชีพสำหรับหน่วยกู้ชีพขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น ชุด ๑๐ ๔. มีเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจ (AED) เครื่อง ๕. จัดซื้อเครื่อง EKG Moniter สำหรับใช้ในรถพยาบาลส่งต่อผู้ป่วย

4 งบสพฉ. ๑.โครงการปิด Gap ปี ๕๙ วงเงิน ๖๐๐,๐๐๐ บาท ๑.๑ จัดประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการแข่งขันการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน ( EMS Rally ) ๒๑๖,๐๐๐ บาท (ดำเนินการแล้ว)

5 ๑.๒จัดอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟู หลักสูตร การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินขั้นพื้นฐาน จำนวน ๑๒ รุ่น ๒๖๘,๘๐๐ บาท รุ่น วัน/เดือน/ปี สถานที่ จำนวน 1 21 พฤศจิกายน 2559 ห้องประชุมโรงพยาบาลจอมทอง อำเภอจอมทอง 70 คน 2 13 ธันวาคม 2559 สนามกีฬาเทศบาลตำบลสันผักหวาน อำเภอหางดง 80 คน 3 14 ธันวาคม 2559 อ่างเก็บน้ำห้วยตึงเฒ่า ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม 60 คน 4 15 ธันวาคม 2559 5 16 ธันวาคม 2559 76 คน 6 ห้องประชุมเทศบาลตำบลบ่อหลวง อำเภอฮอด 63 คน 7 20 ธันวาคม 2559 ห้องประชุมเทศบาลตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี 72 คน 8 21 ธันวาคม 2559 วัดห้วยเกี๋ยง ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย 68 คน 9 23 ธันวาคม 2559 ห้องประชุมโรงพยาบาลแม่แตง อำเภอแม่แตง 10 27 ธันวาคม ห้องประชุมเทศบาลตำบลสันกำแพง อำเภอสันกำแพง 77 คน 11 9 มกราคม 2560 ห้องประชุมโรงพยาบาลแม่อาย อำเภอแม่อาย 69 คน 12 10 มกราคม 2560 13 11 มกราคม 2560 ห้องอาคารวัดเขื่อนผาก อำเภอพร้าว 73 คน รวมทั้งสิ้น 898 คน (ดำเนินการแล้ว)

6 ๑.๓ ประชาสัมพันธ์ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน /หมายเลข 1669 ๑๑๕,๒๒๐ บาท (ยังไม่ได้ดำเนินการ)

7 ๒.โครงการ : โครงการนำร่องการจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินเพื่อความ ปลอดภัยของนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ จำนวนเงิน ๔๔๔,๐๐๐ บาท ๒.๑ อบรมเชิงปฏิบัติการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน หลักสูตรวิทยากร ครู ๖๐คน (ดำเนินการแล้ว) ๒.๒ อบรมเชิงปฏิบัติการความรู้และทักษะการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ๖๐๐ คน (จำนวน ๑๐ รุ่นๆละ ๑ วัน) ให้กับบุคลากรที่ปฏิบัติงานในสถานที่ท่องเที่ยว/โรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่ (อยู่ระหว่างดำเนินการ) ๒.๓ ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน ๑๘๐,๐๐๐ บาท (ยังไม่ได้ดำเนินการ)

8 อยู่ระหว่างดำเนินการ (๑-๓มี.ค.๖๐)
๓.โครงการปิด Gap ปี 60 : โครงการพัฒนาศักยภาพการแพทย์ฉุกเฉินและส่งต่อผู้ป่วยวิกฤติจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน ๕๐๐,๐๐๐บาท ๓.๑ จัดประชุมแพทย์อำนวยการทบทวนการปฏิบัติทางอากาศยานระหว่าง รพ.มหาราช, นครพิงค์ ร่วมกับหน่วยบินที่เกี่ยวข้องจำนวน ๕ ครั้ง (อยู่ระหว่างดำเนินการ) ๓.๒จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศยานเครือข่ายบริการสุขภาพเขตที่ ๑ หลักสูตร ๒ วัน (๑๕-๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๐) ๓.๓จัดอบรมศักยภาพให้ความรู้ด้านทฤษฎี เสริมสร้างทัศนคติและฝึกปฏิบัติการเทคนิคการขับรถอย่างปลอดภัย หลักสูตร ๓ วัน จำนวน ๖๐ คน อยู่ระหว่างดำเนินการ (๑-๓มี.ค.๖๐)

9 ยอดยกมาจากปี 59 + on Top จำนวนเงิน ๔๐๖,๙๔๒ บาท
๔.โครงการพัฒนาการฝึกอบรมด้านการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ๔.๑จัดประชุมวิชาการพัฒนาศักยภาพหัวหน้างานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินและผู้รับผิดชอบงานการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ (ดำเนินการแล้ว) ๔.๒อบรมเชิงปฏิบัติการการเป็นวิทยากรหลักสูตร การปฐมพยาบาลและช่วยปฏิบัติการแพทย์ขั้นพื้นฐานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน หลัก สูตรวิทยากรครู ข คน (หลักสูตร 2 วัน) (๒๓-๒๔มี.ค.๖๐)

10 ๔.๓ อบรมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแนวทางการลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศยานเขตบริการสุขภาพที่๑(ดำเนินการแล้ว)
๔.๔ จัดซื้ออุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรม (ดำเนินการแล้ว) เครื่องช่วยสาธิตการกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า 2 เครื่อง หุ่นสำหรับฝึกการปั๊มหัวใจ (หุ่นสำหรับ CPR) พร้อมกระเป๋า 2 จ้างเหมาผู้ประสานงาน/ธุรการงานการแพทย์ฉุกเฉิน

11 โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ปี ๒๕๖๐จำนวน ๑,๓๙๘,๔๑๒ บาท
๑.๑ จัดประชุมคณะอนุกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ๑ ครั้ง (ยังไม่ได้ดำเนินการ) ๑.๒ จัดประชุมคณะทำงานการแพทย์ฉุกเฉิน /หัวหน้าห้องฉุกเฉิน/ผู้รับผิดชอบงานการแพทย์ฉุกเฉินระดับอำเภอ (ดำเนินการแล้ว) ๑.๓ กิจกรรมรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ๑.๔ จัดประชุมวิชาการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการและเตรียมความพร้อมระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ (ยังไม่ได้ดำเนินการ) ๑.๕ จัดประชุมวิชาการ พัฒนาคุณภาพห้องฉุกเฉิน (ยังไม่ได้ดำเนินการ) ๑.๖ โอนให้รพ.นครพิงค์ ๕๐๐,๐๐๐บาท (ดำเนินการแล้ว) ๑.๗ อบรม EMR ๓ รุ่น (เก็บค่าลงทะเบียน) (อยู่ระหว่างดำเนินการ)

12 สรุป ๖,๓๔๙,๓๕๔ แหล่งงบประมาณ ชื่อโครงการ จำนวนเงิน รวม งบพัฒนาจังหวัด
พัฒนาหน่วยกู้ชีพจังหวัดเชียงใหม่ ๑,๕๐๐,๐๐๐ x ๒ ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท งบสพฉ. ปิด Gap ปี ๕๙ โครงการพัฒนาศักยภาพระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ๖๐๐,๐๐๐ บาท งบสพฉ.(พิเศษ) โครงการนำร่องการจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินเพื่อความ ปลอดภัยของนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ ๔๔๔,๐๐๐ บาท งบสพฉ.ยอดยกมาจากปี 59 + on Top โครงการพัฒนาการฝึกอบรมด้านการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ๔๐๖,๙๔๒ บาท งบสพฉ.ปิด Gap ปี 60 โครงการพัฒนาศักยภาพการแพทย์ฉุกเฉินและส่งต่อผู้ป่วยวิกฤติจังหวัดเชียงใหม่ ๕๐๐,๐๐๐ บาท งบสพฉ งบปกติ ปี๖๐ โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ปี ๒๕๖๐ ๑,๓๙๘,๔๑๒ บาท รวม ๖,๓๔๙,๓๕๔

13 ตัวชี้วัดตรวจราชการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ร้อยละ 60 ของโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์
ร้อยละของโรงพยาบาล F 2 ขึ้นไป ที่มีระบบ ECS คุณภาพ (มาตรฐาน 12 ด้าน) ร้อยละ 60 ของโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ ( 40 % ) ร้อยละของER คุณภาพใน รพ..ระดับ F 2 ขึ้นไป อัตราความสำเร็จในการช่วยฟื้นคืนชีพของผู้ป่วย หัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล (OHCA) ร้อยละ25ของโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ ( 30 % ) ร้อยละของEMS คุณภาพใน รพ. ทุกระดับ ๑.อัตราส่วนของผู้ป่วย Fast Track ที่มาด้วยระบบ EMS (มากกว่าร้อยละ 60) -Stroke -STEMI -SEVERE HEAD INJURY -TRAUMA ๒.ความครอบคลุมของหน่วยบริการ (มากกว่าร้อยละ 80) ๓.การให้บริการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (มากกว่าร้อยละ 90)

14 ความก้าวหน้าในการดำเนินการ
ตัวชี้วัด EMS คุณภาพ (ข้อตกลงจ.เชียงใหม่) เป้าหมาย ปี2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) ๑.อัตราส่วนของผู้ป่วย Fast Track ที่มาด้วยระบบ EMS -Stroke -STEMI -SEVERE HEAD INJURY -TRAUMA ร้อยละ 60 21.43 9.86 83.33 63.64 22.0 31.64 78.39 65.51 ๒.ความครอบคลุมของหน่วยบริการ ร้อยละ 80 78.3 80.47 ๓.การให้บริการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 90 85.67 84.80

15 ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
ลำดับ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ผลงาน ปี ๒๕๕๙ (ครั้ง) เป้าหมาย ปี ๒๕๖๐ ผลงาน ปี ๒๕๖๐ (ไตรมาส ๑) ร้อยละ จำนวนครั้งการปฏิบัติการฉุกเฉิน ของชุดปฏิบัติการฉุกเฉินที่ได้มาตรฐาน ในแต่ละจังหวัด ที่บันทึกในระบบ ITEMS ในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๙๕.๕ ของค่าเป้าหมายการออกปฏิบัติการ ในปี ๒๕๖๐ ที่ สพฉ.กำหนด ๓๕,๙๑๑ ๓๘,๔๒๕ ๙,๕๑๒ ๒๔.๘


ดาวน์โหลด ppt ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐-๑๖.๐๐น. ณ ห้องประชุมม่วนอกม่วนใจ๋ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google