งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทบาทพยาบาลผู้จัดการรายกรณี ในผู้ป่วย STEMI

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทบาทพยาบาลผู้จัดการรายกรณี ในผู้ป่วย STEMI"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทบาทพยาบาลผู้จัดการรายกรณี ในผู้ป่วย STEMI
นางแจ่มจันทร์ พวงจันทร์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานห้องผู้ป่วยหนักอายุรกรรมโรคหัวใจและหลอดเลือด 1 CCU 1 โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี 7 กรกฎาคม 2559

2 บริบท CCU1 รพ.สรรพิทธิประสงค์
CCU1 รพ.สรรพสิทธิประสงค์ รับผู้ป่วย STEMI ในเครือข่ายเขตสุขภาพที่ 10 (มุกศรีโสธรเจริญราชธานี) - ดูแลให้ยา Streptokinase - ก่อนและหลัง PPCI - ก่อนและหลัง Rescue PCI - ก่อนและหลัง Pharmacoinvasive PCI

3 สถิติ STEMI รพ.สรรพสิทธิประสงค์

4 วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วย STEMI ได้รับการดูแลแบบบูรณาการโดย
พยาบาลผู้จัดการรายกรณี ( Nurse case manager ) ผู้ป่วยได้รับการดูแล ถูกต้อง รวดเร็วและปลอดภัย ผู้รับบริการพึงพอใจ (ผู้ป่วยและญาติ , รพ.เครือข่าย) ผู้ให้บริการพึงพอใจ

5 วิธีการดำเนินงาน : ระยะที่ 1 ทบทวนสถานการณ์ มิ.ย.56 – ก.ค.56
วิธีการดำเนินงาน : ระยะที่ 1 ทบทวนสถานการณ์ มิ.ย.56 – ก.ค.56

6 วิธีการดำเนินงาน : ระยะที่ 2 วางแผนและแก้ไข ส.ค.56-ก.ย.56
วิธีการดำเนินงาน : ระยะที่ 2 วางแผนและแก้ไข ส.ค.56-ก.ย.56 กำหนดรูปแบบการดูแลแบบผู้จัดการรายกรณี มีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน พัฒนาทักษะของพยาบาลผู้จัดการรายกรณี

7 คณะกรรมการ CM STEMI CCU1
ดร.สุเพียร โภคทิพย์ ประธาน นางสาวนาฏอนงค์ เสนาพรหม รองประธาน นางแจ่มจันทร์ พวงจันทร์ เลขานุการ นางบุศรา วงศ์ปักษา กรรมการ นางเรวดี ดาศรี กรรมการ นางสาวปัตฑมา ภิรมย์เกษร กรรมการ นางสาวปัทมานันท์ ภูปา กรรมการ

8 หน้าที่ความรับผิดชอบ
จัดทำแผนการดูแลผู้ป่วยร่วมกับสหวิชาชีพ (CPG) และจัดทำแผนการพยาบาล (CNPG) สำหรับผู้ป่วย STEMI ติดตามและประสานงานให้การดูแลรักษาพยาบาลเป็นไปตาม CPG และ CNPG of STEMI ติดต่อประสานงานการส่งต่อผู้ป่วย STEMI กับ รพ.เครือข่าย (กรณีไม่มีแพทย์เวร)

9 หน้าที่ความรับผิดชอบ
ตอบกลับข้อมูลการดูแลรักษาผู้ป่วย STEMI ทาง Line ให้กับ รพ.เครือข่ายโดยเร็วที่สุด และบันทึกข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลหน่วยงาน ติดตามให้มีการประเมิน Killip Class of STEMI กระตุ้นส่งเสริมทีมให้ดำเนินกระบวนการ Discharge Plan ให้เร็วที่สุดหลังผู้ป่วยผ่านภาวะวิกฤต (Cardiac Rehabilitation)

10 หน้าที่ความรับผิดชอบ
ประสานสหวิชาชีพร่วมดูแลตามปัญหาเฉพาะที่ซับซ้อนของผู้ป่วย (เวชศาสตร์ฟื้นฟู ,เภสัชกร ,โภชนากร) จัดการปัญหาเศรษฐกิจและสังคมอื่นๆ (พิการ) ส่ง บ.ส.1 เพื่อการติดตามดูแลต่อเนื่องในผู้ป่วย STEMI ที่มีความซับซ้อน และผู้ป่วยยินยอม ร่วมทีมออกเยี่ยมบ้าน

11 หน้าที่ความรับผิดชอบ
ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเวชระเบียนก่อนส่ง รวบรวมข้อมูลตัวชี้วัดผู้ป่วย STEMI ตามมาตรฐาน สปสช. และที่หน่วยงานกำหนด ทบทวนเหตุการณ์หรือปัญหาระหว่างการดำเนินงานทั้งในหน่วยงานและเครือข่ายเพื่อให้เกิดการพัฒนา

12

13 มาตรฐานการดูแลผู้ป่วย STEMI

14 มาตรฐานการรักษาผู้ป่วย STEMI
รับประทานยาตลอดชีวิตโดยเฉพาะ ASA และ Clopidogrel ตามชนิดขดลวดที่ใส่ ( DES: อย่างน้อย1 ปี , BMS: อย่างน้อย 1 เดือน ) *** มีรายงาน ระยะเวลาเฉลี่ยเกิด ISR หากหยุดยา * หยุดเฉพาะ Clopidogrel ISR in 1 month * หยุดเฉพาะ ASA ISR in 7 days * หยุด ASA+Clopidogrel ISR in 4 days การใช้ยาอมได้ลิ้นที่ถูกต้อง

15 มาตรฐานการรักษาผู้ป่วย STEMI
ดูแลให้ได้รับยา Bata blocker ,ACEI (3 เดือน) ติดตามผลการทำ Echocardiogram เพื่อการวางแผนจำหน่าย ค้นหาปัจจัยเสี่ยง : DM ,HT ,Dyslipidemia ,สูบบุหรี่และช่วยให้เลิกให้ได้ (5A) ฝึกการออกกำลังกายก่อนจำหน่ายเพื่อให้เกิดความมั่นใจเมื่อกลับบ้าน

16 Discharge information for STEMI
โรคที่เป็น และการรักษาที่ได้รับ (ภาพผล CAG +PCI ,ค่าใช้จ่าย) ห้ามเบ่งถ่าย สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้หากสามารถขึ้นและลงบันไดได้ 1 ชั้น ( 10 ขั้น ) แล้วไม่เหนื่อย การกลับไปทำงานควรได้รับการตรวจประเมินจากแพทย์ก่อนส่วนใหญ่ 4-6 สัปดาห์

17 Discharge information for STEMI
ค้นหาแหล่งที่จะช่วยเหลือหากเกิดภาวะฉุกเฉิน , ญาติ , เพื่อนบ้าน - สถานพยาบาลที่ใกล้ที่สุด - สอน Basic life support ( BLS )

18 วิธีการดำเนินงาน :ระยะที่ 3 นำแนวทางสู่การปฏิบัติ ตุลาคม 56 - ปัจจุบัน

19 วิธีการดำเนินงาน :ระยะที่ 3 นำแนวทางสู่การปฏิบัติ ตุลาคม 56 - ปัจจุบัน

20 ผลการดำเนินงาน

21 ผลการดำเนินงาน

22 ผลการดำเนินงาน

23 ผลการดำเนินงาน

24 โอกาสพัฒนา พัฒนารูปแบบให้คำแนะนำการออกกำลังกาย สอน BLS ผู้ป่วยและญาติ

25 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt บทบาทพยาบาลผู้จัดการรายกรณี ในผู้ป่วย STEMI

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google