การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Advertisements

การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
บทที่ 4 ลงมือพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ชุมชนปลอดภัย.
พลเอก ประสาท สุขเกษตร เลขานุการ รมต.กษ.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
“คลายทุกข์ สุขใจ ใกล้ประชาชน”
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
RF COC /Palliative care.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา 1 ตุลาคม พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
ครั้งที่ 7/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
นางสาวถนอมรัตน์ ประสิทธิเมตต์ ศูนย์อนามัยที่ ๔ สระบุรี
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
พัฒนาระบบบริการคัดกรองเบาหวาน ขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การติดตาม (Monitoring)
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
Service Profile : ตึกศัลยกรรมกระดูก ความเสี่ยง/ความท้าทาย
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ การพัฒนาแนวปฏิบัติ การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ กลุ่มโรค Head Injury โรงพยาบาลมะขาม

“ การพัฒนาแนวปฏิบัติการประเมิน ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ” ชื่อเรื่อง “ การพัฒนาแนวปฏิบัติการประเมิน ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ” คำสำคัญ การประเมิน , ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ

สรุปผลงานโดยย่อ พัฒนาแนวปฏิบัติการประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ โดยใช้ Guideline ในการประเมิน ทำให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลตามแนวทางปฏิบัติ ได้รับการวางแผนจำหน่ายกลับบ้านที่เหมาะสม และไม่มีการเสียชีวิตจากการได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ

ชื่อและที่อยู่ กลุ่มโรค Head Injury โรงพยาบาลมะขาม ชื่อผู้รับผิดชอบงาน นางณัฐกฤตา ทองดี นางณฐวรรณ สร้อยพิมาย นางสาวนฤมล ทองภักดี

เป้าหมาย ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ ได้รับการประเมินและดูแล ที่ถูกต้อง รวดเร็วตามมาตรฐาน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนและความรุนแรง ของโรคที่อาจเกิดขึ้น

ปัญหาและสาเหตุสาเหตุโดยย่อ # ประวัติการได้รับบาดเจ็บไม่ชัดเจน # ไม่มีการนัดติดตามอาการหลังจำหน่าย

การเปลี่ยนแปลง มีการประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงาน และวิเคราะห์หาสาเหตุของการเสียชีวิต ในผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ จัดทำแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วย บาดเจ็บศีรษะ

การเปลี่ยนแปลง ทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ ทุกราย ทุกเดือน เพื่อติดตามผลการปฏิบัติ ตามแนวทางที่วางไว้ 4. มีการวางแผนก่อนจำหน่าย

การวัดผล และผลของการเปลี่ยนแปลง

ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะได้รับการดูแล ตามแนวทางปฏิบัติการประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ ร้อยละ 97.2

ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บศีรษะ ที่ได้รับอนุญาตกลับบ้าน ได้รับคำแนะนำและนัดติดตามอาการ ร้อยละ 31.7

อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บที่ศีรษะ ร้อยละ 0

บทเรียนที่ได้รับ 1. เกิดกระบวนการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บทางศีรษะอย่างเป็นระบบโดยมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน มีการซักประวัติการเกิดอุบัติเหตุ การประเมินอาการ การดูแลและให้การพยาบาล โดยใช้แนวทางปฏิบัติการประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ

2. เกิดกระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพงาน 2. เกิดกระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพงาน บุคลากรมีโอกาสได้ใช้ความรู้ความสามารถ ในการปฏิบัติงานได้อย่างเต็มศักยภาพ และเกิดผลลัพธ์ชัดเจน เกิดความร่วมมือของทีมสหสาขาวิชาชีพ ทำให้การรักษาเป็นทีมคุณภาพ และเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ทำให้มีบุคลากร มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

4. ค้นพบแนวทางในการพัฒนาต่อ ระบบ EMS จัดทำแผ่นพับคำแนะนำ นัดติดตามอาการหลังจำหน่ายภายใน 7 วัน