งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา 1 ตุลาคม 2560 - 30 พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา 1 ตุลาคม 2560 - 30 พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา
1 ตุลาคม พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร

2 สถานการณ์ปัญหา 01 02 03 04 05 06 ลายมือไม่ชัดเจน ข้อมูลจาก รพศ/รพช ถึง
รพ.สต.ช้ากว่า14วัน 02 ลายมือไม่ชัดเจน 03 สิ้นเปลืองกระดาษ / และค่าจัดส่งเอกสาร 04 การตอบกลับ < 30 % 05 การประมวลผลยุ่งยาก 06 ผู้บริหารไม่สามารถดูข้อมูล แบบ Real Time

3 การพัฒนาระบบส่งต่อ

4 กลุ่มโรคในเขต

5 จำแนกความรุนแรง

6 ร้อยละตอบกลับ

7 10 อันดับโรค

8 แผนภูมิแสดง สัดส่วนการตอบกลับและจำแนกสถิติระดับความรุนแรง
แผนภูมิแสดงสัดส่วนการตอบกลับ จำแนกสถิติระดับความรุนแรง จำนวนผู้ป่วยที่ยังไม่ตอบกลับ 15.7% สูง-ซับซ้อนต้องช่วยเหลือเกือบทั้งหมด12.1% จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการตอบกลับ 84.3%

9 แผนภูมิแสดงคุณภาพวันเยี่ยม
คุณภาพวันเยี่ยม ผู้ป่วยระดับ 1 คุณภาพวันเยี่ยม ผู้ป่วยระดับ 2

10 กำหนดพื้นที่

11 ประโยชน์ที่ได้รับ สามารถจัดการข้อมูลผู้ป่วยอย่างเป็นรูปธรรม รวดเร็ว
01 สามารถจัดการข้อมูลผู้ป่วยอย่างเป็นรูปธรรม รวดเร็ว 02 ระบุพิกัดบ้านในเชิงระบาดวิทยาได้ 03 ลดภาวะแทรกซ้อน และ Re admit 04 Paperless ลดค่าจัดส่งเอกสารทางไปรษณีย์ ผู้บริหารสามารถติตามข้อมูลแบบ Real Time 05 06 ข้อมูลสามารถเปรียบเทียบกับจังหวัดอื่นได้ 07 พัฒนา CPG ในการดูแลต่อเนื่องลงในโปรแกรมได้ 08 Line group เชื่อมต่อระหว่าง Admin+ User 09 ความสัมพันธ์และความร่วมมือในระดับ จังหวัดและเขต

12 จุดแข็ง เป็น WEB Application สามารถเปิดลงข้อมูล ณ.จุดให้บริการ
01 เป็น WEB Application สามารถเปิดลงข้อมูล ณ.จุดให้บริการ 05 เชื่อมโยงกับ GIS 02 application Run บน Cloud ประหยัดค่าใช้จ่าย ต้นทุน 06 โปรแกรมสามารถ สรุป วิเคราะห์ข้อมูลได้ เข้าถึงข้อมูลได้แบบ Real Time 03 07 ลดระยะเวลารอคอยข้อมูล 04 เชื่อมโยงกับ Hosxp ได้

13 จุดอ่อน การบันทึกข้อมูลไม่ได้คุณภาพ
มีโปรแกรมการส่งต่อหลากหลาย เช่น Thai COC , BMA รพ.เขาสุกริม 01 OPTION การบันทึกข้อมูลไม่ได้คุณภาพ 02 OPTION ผู้รับผิดชอบบันทึกข้อมูลมีน้อยใน รพ. 03 OPTION

14 โอกาสพัฒนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างผู้ใช้ Smart COC ในประเทศ
จัดอบรม Admin ระดับอำเภอ และ User ของ รพ. การใช้งาน Personal Health Record  Smart Card พัฒนาแม่แบบในการดูแลผู้ป่วย Pressure Sore (Mobile Application) PCC Link , ที่มา และวัตถุประสงค์ของ โปรแกรม PCC Link , PCC link การใช้งาน Personal Health Record , PCC Fammed

15 จบการนำเสนอ กลุ่มการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลพุทธโสธร


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา 1 ตุลาคม 2560 - 30 พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google