การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ การพัฒนาแนวปฏิบัติ การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ กลุ่มโรค Head Injury โรงพยาบาลมะขาม
“ การพัฒนาแนวปฏิบัติการประเมิน ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ” ชื่อเรื่อง “ การพัฒนาแนวปฏิบัติการประเมิน ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ” คำสำคัญ การประเมิน , ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
สรุปผลงานโดยย่อ พัฒนาแนวปฏิบัติการประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ โดยใช้ Guideline ในการประเมิน ทำให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลตามแนวทางปฏิบัติ ได้รับการวางแผนจำหน่ายกลับบ้านที่เหมาะสม และไม่มีการเสียชีวิตจากการได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
ชื่อและที่อยู่ กลุ่มโรค Head Injury โรงพยาบาลมะขาม ชื่อผู้รับผิดชอบงาน นางณัฐกฤตา ทองดี นางณฐวรรณ สร้อยพิมาย นางสาวนฤมล ทองภักดี
เป้าหมาย ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ ได้รับการประเมินและดูแล ที่ถูกต้อง รวดเร็วตามมาตรฐาน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนและความรุนแรง ของโรคที่อาจเกิดขึ้น
ปัญหาและสาเหตุสาเหตุโดยย่อ # ประวัติการได้รับบาดเจ็บไม่ชัดเจน # ไม่มีการนัดติดตามอาการหลังจำหน่าย
การเปลี่ยนแปลง มีการประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงาน และวิเคราะห์หาสาเหตุของการเสียชีวิต ในผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ จัดทำแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วย บาดเจ็บศีรษะ
การเปลี่ยนแปลง ทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ ทุกราย ทุกเดือน เพื่อติดตามผลการปฏิบัติ ตามแนวทางที่วางไว้ 4. มีการวางแผนก่อนจำหน่าย
การวัดผล และผลของการเปลี่ยนแปลง
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะได้รับการดูแล ตามแนวทางปฏิบัติการประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ ร้อยละ 97.2
ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บศีรษะ ที่ได้รับอนุญาตกลับบ้าน ได้รับคำแนะนำและนัดติดตามอาการ ร้อยละ 31.7
อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บที่ศีรษะ ร้อยละ 0
บทเรียนที่ได้รับ 1. เกิดกระบวนการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บทางศีรษะอย่างเป็นระบบโดยมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน มีการซักประวัติการเกิดอุบัติเหตุ การประเมินอาการ การดูแลและให้การพยาบาล โดยใช้แนวทางปฏิบัติการประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
2. เกิดกระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพงาน 2. เกิดกระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพงาน บุคลากรมีโอกาสได้ใช้ความรู้ความสามารถ ในการปฏิบัติงานได้อย่างเต็มศักยภาพ และเกิดผลลัพธ์ชัดเจน เกิดความร่วมมือของทีมสหสาขาวิชาชีพ ทำให้การรักษาเป็นทีมคุณภาพ และเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ทำให้มีบุคลากร มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
4. ค้นพบแนวทางในการพัฒนาต่อ ระบบ EMS จัดทำแผ่นพับคำแนะนำ นัดติดตามอาการหลังจำหน่ายภายใน 7 วัน