ตอนที่ 4 ชื่อเรื่อง คุณลักษณะของบุคลากรทางการศึกษา ที่เอื้อต่อการปฏิรูปการศึกษา ผู้วิจัย รศ. ดร. สุวิมล ว่องวานิช คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปีที่วิจัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
กองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี รายงานการวิจัย ความพึงพอใจของ นายจ้าง / ผู้ใช้บัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ รุ่นปีการศึกษา 2546 เสนอสภามหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ความพึงพอใจของผู้ใต้บังคับบัญชาต่อการบริหารงานของ ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายบุคลากร โรงเรียนแลมป์ - เทค ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัย สำรวจความพึงพอใจ กับผู้ใต้บังคับบัญชา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีกิตติบริหารธุรกิจ Kitti Business Administration Technological College ชื่อเรื่อง “พฤติกรรมการใช้โปรแกรม Microsoft Office ของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.
ผู้วิจัย นางบุญนภัส รินทร์คำ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีราชา.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติ ของนักเรียน ปวช.1 โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.

ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ลิ้มปองทรัพย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ เลขที่ 2 ถนนมหาราช แขวง พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะ.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
1. ปัญหาการวิจัย 3. คำตอบของ ปัญหาการวิจัย 2. วิธีการแสวงหา คำตอบ.
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ WIMOL BUSINESS ADMINISTRATION TECHNOLOGICAL COLLEGE ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักการ เขียนโปรแกรม บนระบบปฏิบัติการ.
กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
เรื่อง ปัจจัยจูงใจการเข้า ศึกษาใน วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญา ภิวัฒน์ ของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น โดย นายกิตติภูมิ พานทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญา ภิวัฒน์
การศึกษาพฤติกรรมการส่งงานของนักเรียนชั้น ปวช.ปีที่ ๒ สาขาการบัญชี
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
งานประชาสัมพันธ์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. ธัญบุรี ฉบับที่ 193 ประจำเดือนกรกฎาคม 2558 การประชุมปิดภาคการศึกษา 2/2557 ผศ. ดร. สิริแข พงษสวัสดิ์ ให้เกียรติเป็นประธานกล่าวเปิดโครงการอบรมเชิง.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
ศึกษาการบริหารจัดการ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนประภัสสรวิทยาชลบุรี กุลนิษฐ์ ศิลป์อุดม.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเก็บเอกสาร ของผู้เรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช. 206 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ ผู้วิจัย นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตอนที่ 4 ชื่อเรื่อง คุณลักษณะของบุคลากรทางการศึกษา ที่เอื้อต่อการปฏิรูปการศึกษา ผู้วิจัย รศ. ดร. สุวิมล ว่องวานิช คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปีที่วิจัย 2546

ตอนที่ 4 วัตถุประสงค์การวิจัย วิธีวิจัย ผลการวิจัย

ตอนที่ 4 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวัดคุณลักษณะของบุคลากร ที่เอื้อต่อการปฏิรูปการศึกษาและ เปรียบเทียบคุณลักษณะ ดังกล่าวตามสถานภาพและวุฒิ การศึกษา

ตอนที่ 4 วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อ ____ 2. เพื่อ ____

ตอนที่ 4 วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อวัดคุณลักษณะของบุคลากร 2. เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของบุคลากร จำแนกตามสถานภาพและวุฒิ

ตอนที่ 4 การวิจัยเป็นวิธีการเชิง สำรวจ ผู้วิจัยใช้แบบวัด คุณลักษณะ 9 ฉบับไปวัดจาก บุคลากรทางการศึกษาใน โรงเรียนสังกัด สปช. กทม. และสช. จำนวน 1400 คน ด้วย ตนเองและวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนฯและ เปรียบเทียบความแตกต่างด้วย สถิติ t-test

ตอนที่ 4 วิธีการวิจัย 1. วิธีวิจัย 2. กลุ่มตัวอย่าง 3. เครื่องมือ 4. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล 5. วิธีวิเคราะห์ผล

ตอนที่ 4 วิธีการวิจัย 1. วิธีวิจัย วิธีการเชิงสำรวจ 2. กลุ่มตัวอย่าง บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนสังกัด สปช. กทม. และสช. จำนวน 1400 คน 3. เครื่องมือ แบบวัดคุณลักษณะ 9 ฉบับ 4. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยตนเอง 5. วิธีวิเคราะห์ผล ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนฯและ t-test

ตอนที่ 4 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า บุคลากรทางการศึกษามี คุณลักษณะที่เอื้อต่อการปฏิรูป การศึกษาในระดับสูง โดย ผู้บริหารการศึกษามีระดับของ คุณลักษณะที่เอื้อต่อการปฏิรูป การศึกษาสูงกว่าครูในโรงเรียน และบุคลากรที่มีวุฒิปริญญาโท มี ระดับของคุณลักษณะที่เอื้อต่อ การปฏิรูปการศึกษาสูงกว่าวุฒิ ปริญญาตรี

ตอนที่ 4 ผลการวิจัย 1. วัตถุประสงค์การวิจัย ข้อ 1 พบว่า ____________________ 2. วัตถุประสงค์การวิจัย ข้อ 2 พบว่า ____________________

ตอนที่ 4 ผลการวิจัย 1. เพื่อวัดคุณลักษณะของบุคลากร พบว่า บุคลากรทางการศึกษามีคุณลักษณะที่เอื้อต่อ การปฏิรูปการศึกษาในระดับสูง 2. เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของบุคลากรจำแนก ตามสถานภาพและวุฒิ พบว่า ผู้บริหารมีคุณลักษณะสูงกว่าครู พบว่า ปริญญาโทมีคุณลักษณะสูงกว่าปริญญาตรี

ตอนที่ 4 วัตถุประสงค์ วิธีวิจัย ผลการวิจัย 1. เพื่อวัดคุณลักษณะ 2. เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะจำแนก ตามสถานภาพและวุฒิ 1. วิธีวิจัย วิธีการเชิงสำรวจ 2. กลุ่มตัวอย่าง ผู้บริหารและครู จาก รร. ใน กทม คน 3. เครื่องมือ แบบวัดคุณลักษณะ 9 ฉบับ 4. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยตนเอง 5. วิธีวิเคราะห์ผล ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนฯและสถิติ t-test 1. พบว่า บุคลากรทางการศึกษามีคุณลักษณะที่เอื้อต่อ การปฏิรูปการศึกษาในระดับสูง 2. พบว่า ผู้บริหารมีคุณลักษณะสูงกว่าครู และ ปริญญาโทมีคุณลักษณะสูงกว่าปริญญาตรี

ตอนที่ 4 ให้เลือกบทคัดย่อ / บทสรุป 1 เรื่อง แล้วเขียนจำแนกตามตัวอย่าง

ตอนที่ 4 วัตถุประสงค์ วิธีวิจัย ผลการวิจัย 1. เพื่อ 2. เพื่อ 1. วิธีวิจัย 2. กลุ่มตัวอย่าง 3. เครื่องมือ 4. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล 5. วิธีวิเคราะห์ผล 1. พบว่า 2. พบว่า