1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห วิชาชีพในการดูแลผู้ป่วย 5. ความสามารถของเจ้าหน้าที่ ในการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน 6. แนวทางการดูแลเรื่องสิทธิ ผู้ป่วย
7. ระบบการให้คำปรึกษาใน หน่วยงาน 8. การกำกับมาตรฐานการ ให้บริการ 9. การดูแลและส่งเสริมสุขภาพ เจ้าหน้าที่
1. การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ใน ระยะแพร่กระจาย 4. การลำเลียงขยะติดเชื้อและ ผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง 3. การใช้น้ำยาทำความสะอาด 5. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค 2. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การ ทำความสะอาดเครื่องมือ
1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยง พร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 4. การประสานของหน่วยงาน กับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดใน รอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหา แนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยมี ภาวะแทรกซ้อนจากการ ให้บริการ
1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการ ดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัย ของอาคารสถานที่ 5. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน 3. ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย 4. ความพร้อมและความพอเพียง ของเครื่องมือ
1. การพัฒนา / การออกแบบ เวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของ การบันทึกเวชระเบียน 4. การรักษาความลับในเวช ระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพ ในเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ ประโยชน์ในการทบทวน