พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ. ศ พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ.2537 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2537
สาระสำคัญ กำหนดการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเงินทดแทน สิทธิของลูกจ้างในการได้รับการรักษาพยาบาล และค่าทดแทนประเภทต่างๆ ตามการประสบอันตราย การเจ็บป่วยจากการทำงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 มิถุนายน 2537
การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้องตรวจสอบ 1. บททั่วไป กำหนดเวลาการจ่ายเงินสมทบ กำหนดเวลาแจ้งรายการต่างๆ ต่อกองทุน กำหนดเวลาการยื่นคำร้องประเภทต่างๆ ต่อกองทุน กรณีการเกิดหนี้จากการไม่ชำระเงินทดแทน เงินสมทบ หรือเงินเพิ่ม 2. เมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย จากการทำงาน นายจัางจัดให้ลูกจ้างได้รับการรักษาพยาบาลทันที กำหนดการจ่ายค่าทดแทนเป็นรายเดือนกรณีลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วยไม่สามารถทำงานติดต่อกันเกิน 3 วัน กรณีสูญเสียอวัยวะบางส่วนของร่างกาย กรณีทุพพลภาพ และกรณีลูกจ้างเสียชีวิต
การนำไปปฏิบัติและสิ่งที่ต้องตรวจสอบ 3. จัดให้มีกองทุนเงินทดแทนในสำนักงานประกันสังคมเพื่อจ่ายเป็นเงินทดแทนแก่ลูกจ้างแทนนายจ้าง 4. แต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนและคณะกรรมการการแพทย์ ที่มีอำนาจและหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด 5. กำหนดประเภทและขนาดของกิจการและท้องที่ที่นายจ้างต้องจ่ายเงินสมทบ 6.เมื่อลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย นายจ้างต้องยื่นหนังสือแจ้งต่อราชการภายใน 15 วันที่นายจ้างทราบเรื่อง 7. กำหนดอำนาจ หน้าที่ ของพนักงานเจ้าหน้าที่ 8. การส่งหนังสือถึงนายจ้าง 9. บทกำหนดโทษกรณีไม่ปฏิบัติตาม
จบการนำเสนอ