งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรู้เกี่ยวกับกองทุนเงินทดแทน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรู้เกี่ยวกับกองทุนเงินทดแทน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้เกี่ยวกับกองทุนเงินทดแทน
โดย ร.อ.มานพ ทุสาวุธ

2 หัวข้อการบรรยาย 1. ความเป็นมาของกองทุนเงินทดแทน และกองทุนประกันสังคม
1. ความเป็นมาของกองทุนเงินทดแทน และกองทุนประกันสังคม 2. การเก็บเงินสมทบ 3. การครอบคลุมลูกจ้าง 4. เงินทดแทน / ประโยชน์ทดแทน 5. การขอรับเงินทดแทน/ ประโยชน์ทดแทน

3 พระราชบัญญัติกองทุนเงินทดแทน
พ.ศ. 2537

4 ความเป็นมาของกฎหมายเงินทดแทน
16 มี.ค ประกาศคณะปฏิบัติ ฉบับที่ 103 1 ม.ค บังคับใช้คุ้มครองลูกจ้าง ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง คนขึ้นไป (เฉพาะกรุงเทพฯ) 1 ม.ค ขยายความคุ้มครองจังหวัดปริมณฑล 1 ก.ค ขยายความคุ้มครองครบทุกจังหวัด ต่อ

5 ความเป็นมาของกฎหมายเงินทดแทน
1 ต.ค ขยายความคุ้มครองลูกจ้าง ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง คนขึ้นไป 15 มิ.ย พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 1 เม.ย ขยายความคุ้มครองลูกจ้าง ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 1 คนขึ้นไป

6 วัตถุประสงค์กองทุนเงินทดแทน
เพื่อเป็นหลักประกันแก่ลูกจ้างที่ประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยด้วยโรคเนื่องจากการทำงาน เพื่อให้การบำบัดรักษาและส่งเสริมฟื้นฟูสมรรถภาพ (ทั้งร่างกาย และอาชีพ) ให้สามารถเลี้ยงชีพได้ด้วยตนเอง ไม่เป็นภาระแก่สังคม ให้การสนับสนุน และป้องกันเรื่องความปลอดภัย สุขอนามัยในการทำงาน ลดอุบัติเหตุ

7 พระราชบัญญัติเงินทดแทน ไม่ใช้บังคับ
(1) ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น (2) รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (3) นายจ้างซึ่งประกอบธุรกิจโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับครูหรือครูใหญ่ นายจ้างซึ่งดำเนินกิจการที่มีได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหา กำไรในทางเศรษฐกิจ นายจ้างอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

8 นายจ้างอื่นที่ไม่ใช้บังคับ
1. นายจ้างที่ประกอบกิจการเพาะปลูก ประมง ป่าไม้ และ เลี้ยงสัตว์ ซึ่งมิได้ใช้ลูกจ้างตลอดปี และไม่มีงานลักษณะอื่น รวมอยู่ด้วย 2. นายจ้างที่เป็นบุคคลธรรมดา ซึ่งงานที่ลูกจ้างทำนั้น มิได้มีการประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย 3. นายจ้างที่ประกอบการค้าเร่ การค้าแผงลอย

9 เงินสมทบ กองทุนเงินทดแทน
เก็บจากนายจ้าง (สปก.ที่มีลูกจ้าง 1 คนขึ้นไป) คำนวณจากเงินค่าจ้างของลูกจ้าง อัตราตามความเสี่ยงของกิจการ (ร้อยละ 0.2 – 1) จ่ายเป็นรายปี / รายงวด (3 เดือน /ครั้ง ) ตามกำหนด จ่ายเกินเวลาที่กำหนดต้องเสียเงินเพิ่มอัตรา ร้อยละ 3 ต่อเดือน

10 การคุ้มครองของกองทุนเงินทดแทน
ประสบอันตราย เจ็บป่วยด้วยโรค - สูญเสียอวัยวะ - สูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะ - ทุพพลภาพ - ตาย / สูญหาย ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานให้นายจ้าง

11 สิทธิประโยชน์ ในกองทุนเงินทดแทน
1. ค่ารักษาพยาบาล 2. ค่าทดแทน 3. ค่าทำศพ 4. ค่าฟื้นฟู

12 1. ค่ารักษาพยาบาล 1.1 เท่าที่จ่ายจริงและจำเป็นไม่เกินวงเงิน 50,000 บาท
1. ค่ารักษาพยาบาล 1.1 เท่าที่จ่ายจริงและจำเป็นไม่เกินวงเงิน 50,000 บาท 1.2 กรณีไม่เพียงพอจ่ายเพิ่มได้อีก 100,000 บาท กรณีดังต่อไปนี้ 1. บาดเจ็บอย่างรุนแรงของอวัยวะ ภายในหลายส่วน และต้องได้รับ การผ่าตัดแก้ไข

13 บาดเจ็บอย่างรุนแรงของกระดูก
หลายแห่ง และต้องได้รับการผ่าตัด แก้ไข บาดเจ็บอย่างรุนแรงที่ศีรษะ และต้อง ได้รับการผ่าตัดเปิดกะโหลก บาดเจ็บอย่างรุนแรงของกระดูกสัน หลังไขสันหลัง หรือรากประสาท

14 5. ประสบภาวะที่ต้องผ่าตัดต่ออวัยวะที่ยุ่งยาก
ซึ่งต้องใช้วิธีจุลศัลยกรรม 6. ประสบอันตรายจากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก สารเคมีหรือไฟฟ้า จนถึงขั้นสูญเสีย ผิวหนังลึกถึงหนังแท้เกินกว่าร้อยละยี่สิบห้า ของพื้นผิวร่างกาย 7. ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ซึ่งรุนแรง และเรื้อรัง ตามที่กระทรวงแรงงานประกาศ กำหนด

15  ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยตามข้อ 1- ข้อ 6ตั้งแต่ 2 รายการขึ้นไป
1.3 กรณี 300,000 บาท ไม่เพียงพอ เบิกได้อีกเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 500,000 บาท กรณี  ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยตามข้อ 1- ข้อ 6ตั้งแต่ 2 รายการขึ้นไป  ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยตามข้อ 1- ข้อ 6 ที่จำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือต้องพัก รักษาตัวในห้องผู้ป่วยหนัก ตั้งแต่ 20 วันขึ้นไป

16  บาดเจ็บอย่างรุนแรงของระบบสมองหรือ
ไขสันหลัง ที่จำเป็นรักษา ตั้งแต่ 30 วัน ติดต่อกัน  การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่น ซึ่งรุนแรงและเรื้อรัง จนเป็นผลให้อวัยวะ สำคัญล้มเหลว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 20 ก.พ. 58

17 เบิกได้อีกเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 1,000,000 บาท โดย
1.4 ในกรณี 500,000 บาท ไม่เพียงพอ เบิกได้อีกเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 1,000,000 บาท โดย คณะกรรมการการแพทย์พิจารณา คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนให้ความเห็นชอบ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 20 ก.พ. 2558

18 2. ค่าทดแทน จ่าย 60% ของค่าจ้างรายเดือน
2. ค่าทดแทน จ่าย 60% ของค่าจ้างรายเดือน 2.1 กรณีหยุดพักรักษาตัว หยุดงาน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 1 ปี 2.2 กรณีสูญเสียอวัยวะ หรือ สูญเสียสมรรถภาพ - ไม่เกิน 10 ปี (ตามอัตราที่กำหนด) 2.3 กรณีทุพพลภาพ ไม่เกิน 15 ปี 2.4 กรณีตาย ไม่เกิน 8 ปี

19 100 เท่าของค่าจ้างขั้นต่ำรายวันสูงสุด
3. ค่าทำศพ 100 เท่าของค่าจ้างขั้นต่ำรายวันสูงสุด จ่าย ผู้จัดการศพ

20 4.1 ค่าฟื้นฟูทางด้านเวชศาสตร์
4. ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ 4.1 ค่าฟื้นฟูทางด้านเวชศาสตร์ ฟื้นฟู 24,000 บาท 4.2 ค่าใช้จ่ายในการผ่าตัด เพื่อประโยชน์การฟื้นฟู 40,000 บาท

21 แนวปฏิบัติการจ่ายค่ากายภาพบำบัด
กรณีการนับวันเพื่อเข้าเกณฑ์การจ่ายค่ากายภาพบำบัด ให้นับวันที่ประสบอันตรายถือเป็นวันที่ 1 และวันที่เริ่มต้นทำกายภาพบำบัดเป็นวันสุดท้าย ตามระยะเวลาบาดเจ็บดังนี้ 1)ลูกจ้างบาดเจ็บในระยะเฉียบพลัน(Acute)คือมีอากาการบาดเจ็บตั้งแต่วันประสบอันตรายไม่เกิน 14 วันให้การรักษาได้ไม่เกิน 10 ครั้ง ที่เข้ารับการกายภาพบำบัด 2)ลูกจ้างบาดเจ็บในระยะรองเฉียบพลัน(sub-Acute) คือมีอาการบาดเจ็บตั้งแต่วันที่ประสบอันตรายไม่เกิน 28 วัน ให้การรักษาได้ไม่เกิน 20 ครั้ง เข้ารับการกายภาพบำบัด

22 ยกเว้น กรณีการรักษาด้วยวิธีการฝังเข็ม กองทุนเงินทดแทนไม่คุ้มครอง
3)ลูกจ้างบาดเจ็บในระยะเรื้อรัง(Chronic) คือมีอาการบาดเจ็บตั้งแต่วันประสบอันอันตรายเกิน 28 วัน ให้การรักษาได้ไม่เกิน 30 ครั้ง ที่เข้ารับการกายภาพบำบัด 4)กรณีลูกจ้างรายใดจำเป็นต้องให้การรักษาโดยวิธีทางกายภายบำบัดเกินกว่าที่กำหนดในข้อ 1 ข้อ 2 หรือข้อ 3ให้คณะกรรมการการแพทย์กองทุนทดแทนพิจาณาเป็นรายกรณี ยกเว้น กรณีการรักษาด้วยวิธีการฝังเข็ม กองทุนเงินทดแทนไม่คุ้มครอง

23 แนวการปฏิบัติการใช้อวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค
ต้องให้แพทย์ผู้รักษาเป็นผู้ให้ความเห็นว่าสมควรใช้อวัยวะเทียมฯ โดยหลักฐานที่ใช้ประกอบการเบิกคือใบรับรองแพทย์ กรณีอวัยวะเทียมฯนั้นไม่มีจำหน่ายในสถานพยาบาล หลักฐานในการ เบิกอวัยวะเทียมฯ ประกอบด้วยใบรับรองแพทย์ ใบรับรองว่าไม่มี อวัยวะเทียม นั้นจำหน่ายในสถานพยาบาลและผู้ป่วยจำเป็นต้องใส่ อวัยวะเทียมฯ และใบเสร็จรับเงินค่าอวัยวะเทียมฯ อัตราค่าอวัยวะเทียมฯให้พิจารณาเทียบเคียงกับอัตราค่าอวัยวะเทียมฯของกองทุนประกันสังคม

24 ารที่ลูกจ้างหายไปในระหว่างทำงานอันควร
สูญหาย ารที่ลูกจ้างหายไปในระหว่างทำงานอันควร เชื่อว่าลูกจ้างถึงแก่ความตายเพราะประสบเหตุ ระหว่างทำงานตามคำสั่งของนายจ้างทั้งนี้ เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 120 วัน นับแต่วันเกิดเหตุ

25 พรบ.เงินทดแทน พ.ศ. 2537 เมื่อลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย ให้นายจ้างแจ้งการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย ต่อสำนักงานแห่งท้องที่ ที่ลูกจ้างทำงานอยู่หรือที่นายจ้างมีภูมิลำเนาอยู่ ตามแบบที่เลขาธิการกำหนดภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่นายจ้างทราบ หรือควรจะได้ทราบ ถึงการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย

26 พรบ.เงินทดแทน พ.ศ. 2537 เมื่อลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย ให้ลูกจ้างหรือผู้มีสิทธิตามมาตรา ยื่นคำร้องขอรับเงินทดแทน ต่อสำนักงานแห่งท้องที่ ที่ลูกจ้างทำงานอยู่หรือที่นายจ้างมีภูมิลำเนา อยู่ ตามแบบที่เลขาธิการกำหนดภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย แล้วแต่กรณี

27 การเจ็บป่วยด้วยโรคเนื่องจากการทำงาน ให้ยื่นคำร้อง ภายใน 2 ปี
โรคหรือการเจ็บป่วยบางอย่างมิได้เกิดขึ้นทันที เช่น โรคที่เกี่ยวเนื่องจากสารเคมี ต้องใช้เวลานานพอสมควร จึงจะแสดงอาการ ให้ยื่นคำร้อง ภายใน 2 ปี ตาม ม.51 อนุ3

28 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดชนิดของโรค ซึ่งเกิดขึ้น ตามลักษณะ หรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการทำงาน ชนิดของโรค 80 โรค ประกาศ ณ วันที่ 24 กรกฏาคม 2550

29 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การวินิจฉัย และการประเมิน
เรื่อง หลักเกณฑ์การวินิจฉัย และการประเมิน การสูญเสียสมรรถภาพของผู้ป่วย หรือ บาดเจ็บด้วยโรคจากการทำงาน

30 เอกสารประกอบการใช้สิทธิกองทุนทดแทน
1.ใบส่งตัวลูกจ้างเข้ารับการรักษาพยาบาล แบบ กท.44 2.แบบแจ้งการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย กท.16 3.ใบรับรองแพทย์กรณีบาดเจ็บ เจ็บป่วย จากการทำงาน กท.16/1 4.บัตรประชาชนหรือบัตรที่ทางราชการออกให้ ถ่ายเอกสารพร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง

31 หลักเกณฑ์ประกอบการวินิจฉัยโรค
1. มีหลักฐานทางการแพทย์แสดงการเจ็บป่วย 1. เวชระเบียน 2. ผลและรายงานการชันสูตรต่าง ๆ 3. ใบรับรองแพทย์ 4. ความเห็นของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

32 ลูกจ้างประสบอันตราย/
การเบิกค่ารักษา รักษาในโรงพยาบาล, คลินิค จ่ายให้นายจ้าง/ ลูกจ้าง ลูกจ้างประสบอันตราย/ เจ็บป่วย กท. 44 รักษาในโรงพยาบาล ในความตกลงของกองทุน จ่ายให้ โรงพยาบาล

33 เปรียบเทียบ 2 กองทุน

34 ความแตกต่างระหว่าง วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์
กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นทุนให้มีการจ่ายเงินทดแทนแก่ลูกจ้างแทนนายจ้าง วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างหลักประกันให้แก่ลูกจ้างผู้ประกันตน

35 ความแตกต่างระหว่าง 2. หน้าที่การจ่ายเงินสมทบ นายจ้างมีหน้าที่จ่าย
กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม 2. หน้าที่การจ่ายเงินสมทบ นายจ้างมีหน้าที่จ่าย หน้าที่การจ่ายเงินสมทบ ลูกจ้าง, นายจ้าง รัฐบาล

36 อัตราเงินสมทบ ตามความเสี่ยงภัย ของ กิจการนายจ้าง
กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม อัตราเงินสมทบ ตามความเสี่ยงภัย ของ กิจการนายจ้าง 3.1 อัตราเงินสมทบหลัก 0.2 – 1% 3.2 อัตราเงินสมทบ ค่าประสบการณ์ อัตราเงินสมทบ 3.1 เจ็บป่วย 3.2 ตาย 3.3 ทุพพลภาพ 3.4 คลอดบุตร 3.5 สงเคราะห์บุตร 3.6 ชราภาพ 3.7 ว่างงาน 1.5% 3% 5%

37 จ่ายเป็นรายเดือน ทุกเดือน
กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม 4. วิธีจ่าย รายปี รายงวด 4. วิธีจ่าย จ่ายเป็นรายเดือน ทุกเดือน 5. เงินเพิ่มตามกฎหมาย ร้อยละ 3 ต่อเดือน 5. เงินเพิ่มตามกฎหมาย ร้อยละ 2 ต่อเดือน

38 6. สิทธิประโยชน์ 6. สิทธิประโยชน์ ค่ารักษาพยาบาล กรณีเจ็บป่วย ค่าทดแทน
กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน 6. สิทธิประโยชน์ ค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทน 6.1 กรณีหยุดงาน 6.2 กรณีสูญเสียอวัยวะ 6.3 กรณีทุพพลภาพ 6.4 กรณีเสียชีวิต ค่าทำศพ ค่าฟื้นฟู 6. สิทธิประโยชน์ กรณีเจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย กรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ กรณีว่างงาน

39 7. ข้อยกเว้น 7. ข้อยกเว้น ตาม พรบ.ประกันสังคม 14 ข้อ กองทุนเงินทดแทน
กองทุนประกันสังคม 7. ข้อยกเว้น ลูกจ้างเสพของมึนเมา หรือสิ่งเสพติดอื่น จนไม่ สามารถครองสติได้ ลูกจ้างจงใจให้ตนเอง ประสบอันตราย หรือยอม ให้ผู้อื่นทำให้ตนประสบ อันตราย (ม. 22) 7. ข้อยกเว้น ตาม พรบ.ประกันสังคม 14 ข้อ

40 8. การอุทธรณ์ 8. การอุทธรณ์ อุทธรณ์ต่อ อุทธรณ์ต่อ คณะกรรมการ
กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม 8. การอุทธรณ์ อุทธรณ์ต่อ คณะกรรมการ กองทุนภายใน 30 วัน 8. การอุทธรณ์ อุทธรณ์ต่อ คณะกรรมการ อุทธรณ์ ภายใน 30 วัน

41

42

43

44 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ความรู้เกี่ยวกับกองทุนเงินทดแทน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google