ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลยางพารา
Advertisements

แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
มันสำปะหลัง.
แผนงาน ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าภาค การเกษตร ผลผลิตที่ 3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาการ ดำเนินธุรกิจ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และ.
สุกร ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร จังหวัดนครราชสีมา ปี 2557 และแนวโน้ม ปี 2558
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ผลการเบิกจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2556 ณ วันที่ 26 เมษายน 2556 ผลการเบิกจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2556 ณ วันที่ 26 เมษายน 2556.
3.1 สรุปผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประจำปี 2553
รายงานผลการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มกราคม 2556 รายงานผลการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
รายงานผลการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ สิ้นสุด ณ วันที่ 2 สิงหาคม 2556 รายงานผลการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ณ 31 พฤษภาคม
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
1 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2554 พลางก่อน ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2554 พลางก่อน สำนักแผนงาน กรมทางหลวงชนบท ข้อมูล ณ 23 ธ.ค.54.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
สาเหตุ ค่าเงินบาทแข็ง-อ่อน
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ
ทัศนะเกี่ยวกับการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ประจำปี 2559
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลป่าสัก อำเภอ เมือง จังหวัดลำพูน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย สุนทร วิเลิศสัก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
สถานการณ์ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม. สถานการณ์การออกเทศบัญญัติ / ข้อกำหนด เทศ บัญญัติ / ข้อกำหน ด กาฬสินธุ์ (%) ขอนแก่ น (%) มหาสารคา ม (%) ร้อยเอ็ ด (%)
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ชนิดสัตว์น้ำ ลักษณะสินค้าสัตว์น้ำ ปริมาณสินค้า (กก.)
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
เสวนาหัวข้อ “Research Gap on Thailand Green Economy”
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการพัฒนาการ เกษตรอย่างยั่งยืน
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มเกษตรกร.
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
สถานการณ์โลก การผลิต - พื้นที่ปลูก - ปริมาณผลผลิต - ชนิดพันธุ์
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน่วยงานเจ้าภาพหลัก : กษ. (สศก. ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง:
หัวข้อการนำเสนอรายงาน
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ชื่อบริษัท รูปภาพของบริษัท. โครงการขยายผลการส่งเสริมการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร ในภาคอุตสาหกรรม ระยะที่ 6.
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งซ้าย
การเปลี่ยนแปลง สู่การเกษตรยุคใหม่ที่ยั่งยืน
นำเสนอโดย ABC DEFG คณะเกษตรศาสตร์สาขา สัตวศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร ไข่ไก่ ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร

สถานการณ์การผลิต/ตลาด ปริมาณการผลิตไข่ไก่ของไทย ปี 2554-2557 รายการ 2554 2555 2556 2557 ปริมาณการผลิต (ล้านฟอง) 10,024.43 10,998.33 11,148.49 11,717.71 ปริมาณการผลิตไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี โดย ปี 2557 มีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 11,717.71 ล้านฟอง เพิ่มขึ้นจาก 11,148.49 ล้านฟอง ของปี 2556 ร้อยละ 5.11 เนื่องจากราคาไข่ไก่ปี 2556 ปรับตัวสูงขึ้นเป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรขยายการเลี้ยงไก่ไข่เพิ่มขึ้น ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

สถานการณ์การผลิต/ตลาด การส่งออกไข่ไก่และผลิตภัณฑ์ ปี 2554 - 2557 รายการ 2554 2555 2556 2557 ไข่ไก่สด ปริมาณ (ล้านฟอง) มูลค่า (ล้านบาท)   71.71 221.99 149.72 395.41 177.91 461.73 143.59 445.62 ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปริมาณ (ตัน) 3,481.40 3,358.49 3,971.14 4,077.74 265.69 273.36 322.39 364.80 ไข่ไก่ที่ผลิตได้จะใช้บริโภคภายในประเทศเป็นหลักและมีการส่งออกบ้างเล็กน้อย เพี่อรักษาตลาดและระบายผลผลิตส่วนเกิน การส่งออกไข่ไก่ จะส่งออกใน 2 รูปแบบ คือ ไข่ไก่สด และ ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ได้แก่ ไข่ขาวผง ไข่แดงผง ไข่ผงรวม ไข่เหลวรวม ไข่แดงเหลว ปี 2557 การส่งออกไข่ไก่สดมีปริมาณ 143.59 ล้านฟอง มูลค่า 445.62 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2556 ซึ่งส่งออกปริมาณ 177.91 ล้านฟอง มูลค่า 461.73 ล้านบาท ปริมาณและมูลค่าลดลงร้อยละ 19.29 และร้อยละ 3.49 ตามลำดับ เนื่องจากระดับราคาอยู่ในเกณฑ์ดีบางช่วง และไม่มีกิจกรรมการส่งออกเพื่อระบายผลผลิต ปี 2557 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 4,077.74 ตัน มูลค่า 364.80 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปี 2556 ซึ่งมีปริมาณการส่งออก 3,971.14 ตัน มูลค่า 322.39 ล้านบาท ปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.68 และร้อยละ 13.15 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกมากที่สุด คือ ไข่เหลวรวม ตลาดส่งออกที่สำคัญ คือ ญี่ปุ่น คิดเป็นร้อยละ 68 ของปริมาณการส่งออกไข่เหลวรวมทั้งหมด ที่มา: กรมศุลกากร

สถานการณ์การผลิต/การตลาด การนำเข้าผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปี 2554 - 2557 รายการ 2554 2555 2556 2557 ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่   ปริมาณ (ตัน) 1,565.75 1,942.90 1,927.25 1,831.80 มูลค่า (ล้านบาท) 333.86 519.09 528.54 565.08 ในปี 2557 มีปริมาณการนำเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ 1,831.80 ตัน มูลค่า 565.08 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปี 2556 ซึ่งมีปริมาณการนำเข้า 1,927.25 ตัน มูลค่า 528.54 ล้านบาท ปริมาณลดลงร้อยละ 4.95 แต่มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.91ตามลำดับ โดยผลิตภัณฑ์ที่นำเข้ามาจะใช้เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ ที่ใช้ในประเทศและส่งออก ผลิตภัณฑ์ที่นำเข้ามากที่สุด คือ ไข่ขาวผง โดยนำเข้ามากที่สุดจากประเทศฝรั่งเศส คิดเป็นร้อยละ 36 ของปริมาณนำเข้าไข่ขาวผงทั้งหมด รองลงมา ได้แก่ อิตาลี และอินเดีย ที่มา: กรมศุลกากร

โครงสร้างการตลาดไข่ไก่ บริโภคภายใน 98% ตลาดสด 58.80% ห้างค้าปลีก 29.40% รถเร่ 9.80% ส่งออก 2% ไข่ไก่สด 1.33% ผลิตภัณฑ์ 0.67% โครงสร้างการตลาดไข่ไก่ ผลผลิตไข่ไก่ทั้งหมดใช้ในการบริโภคภายในประเทศประมาณร้อยละ 98 และส่งออกประมาณร้อยละ 2 โดยส่วนใหญ่ส่งออกไปยังฮ่องกงในรูปของไข่ไก่สด สำหรับผลผลิตที่บริโภคภายในประเทศจะกระจายไปขายในตลาดสด ร้อยละ 58.80 ห้างค้าปลีกร้อยละ 29.40 และรถเร่ ร้อยละ 9.80

บัญชีสมดุล ผลผลิต + นำเข้า = บริโภค + ส่งออก ส่งออกไข่ไก่สด ผลิตภัณฑ์จากไข่ ไข่ขาวผง ไข่แดงผง ไข่ผงรวม ไข่แดงเหลว ไข่เหลวรวม ข้อมูลที่ใช้ในการการคิดบัญชีสมดุล ข้อมูลปริมาณผลผลิตไข่ไก่ทั้งปี จากศูนย์สารสนเทศการเกษตร ข้อมูลการนำเข้า – ส่งออก จากกรมศุลกากร ซึ่งการนำเข้าไข่ไก่สด จะไม่นำมาคิด เพราะส่วนใหญ่จะเป็นไข่เกรดพิเศษต่างๆ เช่น ไข่ที่มีคาวน้อย และบางปีไม่มีการนำเข้า สำหรับผลิตภัณฑ์จากไข่ชนิดต่างๆ จะใช้อัตราแปลงที่แตกต่างกัน เช่น ไข่ไก่ 80,000 ฟอง ได้ไข่ผงรวม 1 ตัน เป็นต้น

ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปริมาณการนำเข้า/ส่งออก ที่มาของข้อมูล ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปริมาณผลผลิต ปริมาณการนำเข้า/ส่งออก กรมศุลกากร ที่มาของข้อมูล ปริมาณผลผลิตไข่ไก่ ได้จากศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปริมาณการนำเข้า-ส่งออก จะใช้ข้อมูลจากกรมศุลกากร แล้วนำมาแปลงให้เป็นหน่วยเดียวกัน คือ ฟอง

ตัวอย่าง ปริมาณผลผลิต 11,718 ล้านฟอง ปริมาณผลผลิต 11,718 ล้านฟอง ปริมาณการส่งออกไข่ไก่สด 144 ล้านฟอง ปริมาณการส่งออกผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ 4,077.74 ตัน หรือ 88 ล้านฟอง ปริมาณการนำเข้าผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ 1,831.80 ตัน หรือ 332 ล้านฟอง จากข้างต้นที่ได้กล่าวไปแล้วว่า ผลผลิตไข่ไก่ ประมาณ 11,718 ล้านฟอง การส่งออกไข่ไก่ 143.59 ล้านฟอง หรือประมาณ 144 ล้านฟอง ปริมาณการส่งออกผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ 4077.74 ตัน แปลงเป็นฟองได้ประมาณ 88 ล้านฟอง ปริมาณการนำเข้าผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ 1831.80 ตัน แปลงเป็นฟองได้ประมาณ 332 ล้านฟอง ***** อัตราแปลงไม่ต้องพูดทั้งหมด อัตราแปลง ไข่แดงผง 1 ตัน จะใช้ไข่ไก่สด 128000 ฟอง ไข่ขาวผง 1 ตัน จะใช้ไข่ไก่สด 272000 ฟอง ไข่ผงรวม 1 ตัน จะใช้ไข่ไก่สด 80000 ฟอง ไข่แดงเหลว 1 ตัน จะใช้ไข่ไก่สด 64000 ฟอง ไข่เหลวรวม 1 ตัน จะใช้ไข่ไก่สด 20000 ฟอง

บัญชีสมดุลไข่ไก่ สินค้า อุปทาน อุปสงค์ นำเข้า ผลผลิต รวม บริโภค ส่งออก ไข่ไก่  ปริมาณ (ล้านฟอง) 332 11,718 12,050 11,818 232 ร้อยละ  2.75 97.25 100.00 98.81 1.19 ตัวอย่างการคำนวณบัญชีสมดุลไข่ไก่ เมื่อเราได้ข้อมูล จากทั้ง 2 ส่วนมาแล้ว นำข้อมูลที่ได้มาใส่ในตาราง โดยข้อมูลการส่งออก จะคิดทั้งที่เป็นไข่ไก่สด และผลิตภัณฑ์

ประมาณการสมดุลไข่ไก่ จังหวัด........................................ ปี 2558 หน่วย : ฟอง รายการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม 1. ปริมาณผลผลิตไข่ไก่   2. นำเข้าจากจังหวัดอื่น 3. ส่งออกไปยังจังหวัดอื่น 4. ใช้ในจังหวัดรวม 4.1 บริโภค (ฟอง) 4.2 เข้าโรงงานแปรรูป 5. เกิน/ขาด การจัดทำประมาณการสมดุลไข่ไก่รายจังหวัดในแต่ละเดือน ข้อ 1 ข้อมูลปริมาณผลผลิตไข่ไก่ คำนวณจาก จำนวนแม่ไก่ไข่ยืนกรง (สอบถามจากปศุสัตว์จังหวัด) x อัตราการไห้ไข่ (สอบถามจากเกษตรกร/ปศุสัตว์จังหวัด) ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นผลผลิตรายวัน จึงต้องนำมาคูณจำนวนวันในแต่ละเดือน ข้อ 2 ข้อมูลนำเข้าจากจังหวัดอื่น ให้สอบถามจากปศุสัตว์จังหวัด ข้อ 3 ข้อมูลส่งออกไปจังหวัดอื่น ให้สอบถามจากปศุสัตว์จังหวัด ข้อ 4 ข้อมูลการใช้ในจังหวัด ให้สอบถามจากพาณิชย์จังหวัด ข้อ 5 ส่วนเกิน/ขาด คำนวณจาก (1. ผลผลิต + 2. นำเข้าจากจังหวัดอื่น) – (3. ส่งออกไปยังจังหวัดอื่น + 4. การใช้ในจังหวัด) (ข้อมุลเดิม) ข้อมูล ข้อ 1- 3 ขอได้จากปศุสัตว์จังหวัด จะมีข้อมูลการเคลื่อนย้ายไก่ไข่ ทั้งแม่ไก่ไข่ปลด และไก่สาวเข้าเลี้ยง ข้อ 4 คำนวณได้จาก ข้อ 1 + ข้อ 2 – ข้อ 3 ข้อ 5 อัตราการให้ไข่ ต้องสอบถามจากเกษตรกร ข้อ 6 คำนวณได้จาก ข้อ 4 * ข้อ 5 หารด้วย 100 ข้อ 7 ให้สอบถามจาก ล้ง พ่อค้าขายส่ง พ่อค้าขายปลีก หรือพาณิชย์จังหวัด ข้อ 8 สอบถามจากเกษตรกร หรือพ่อค้าที่มารับซื้อ ข้อ 9 สอบถามเกษตรกร พ่อค้า ว่ามีการขายไปประมาณวันละเท่าไหร่ หรือเดือนละเท่าไหร่ ช่วงเดือนใดขายดี ขายไม่ดี หรือถ้าไม่ได้ให้ถามประมาณว่าซื้อไข่มาครั้งละกี่ฟองขายกี่วันหมด เป็นต้น ถ้าเค้าตอบไม่ได้ให้บอกเป็นสัดส่วน กรณีโรงงานแปรรูปถ้าในจังหวัดไม่มีไม่ต้องใส่ การนำไปทำขนมหรือไปใส่ในส่วนประกอบของอาหารไม่ต้องแยก ข้อ 10 เกิน/ขาด = (6) + (7) – (8) - (9) ข้อ 11 ให้ถามจากเกษตรกร โดยถามเป็นราคาไข่คละ 20.5 กก ต่อ ตั้ง ข้อ 12 ราคาขายส่ง ถามจากพ่อค้า ถามเป็นราคาไข่คละ ข้อ 13 ถามจากพ่อค้าในตลาด

แนวทางการบริหารจัดการ กรณีผลผลิตเกิน : - ระบายไข่ไก่โดยการจำหน่ายตรงกับผู้บริโภค และส่งออก - ปรับลดการผลิตโดยปลดแม่ไก่ไข่ก่อนกำหนด - รณรงค์เพิ่มการบริโภคไข่ไก่และส่งเสริมการแปรรูปไข่ไก่ กรณีผลผลิตขาด: - หาผลผลิตจากพื้นที่ใกล้เคียงมาจำหน่ายในพื้นที่ บัญชีสมดุลรายจังหวัดจะบอกได้ว่าช่วงเดือนใดผลผลิตจะขาดหรือเกิน จากกำลังการผลิตที่มีอยู่ ซึ่งถ้าหากเรารู้ปริมาณความต้องการก็จะวางแผนการผลิตที่เหมาะสม ทั้งการนำไก่เข้าเลี้ยงและการปลดแม่ไก่ไข่ ในกรณีผลผลิตเกิน : - ระบายไข่ไก่โดยการจำหน่ายตรงกับผู้บริโภค และส่งออก - ปรับลดการผลิตโดยปลดแม่ไก่ไข่ก่อนกำหนด - รณรงค์เพิ่มการบริโภคไข่ไก่และส่งเสริมการแปรรูปไข่ไก่ กรณีผลผลิตขาด: - หาผลผลิตจากพื้นที่ใกล้เคียงมาจำหน่ายในพื้นที่

ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง 02-579-3536 ขอบคุณค่ะ ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง 02-579-3536