ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มขีด ความสามารถการเตรียมความพร้อมในการ จัดการสาธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ส่งเสริม สนับสนุน กระบวนการมีส่วนร่วมของ ประชาชน ชุมชนและองค์กรทั้งภาครัฐ และ ภาคเอกชน 2. บริหารกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน และอาสาสมัครขององค์กรเครือข่ายให้เป็นไปอย่าง มีเอกภาพ รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพในการทำงาน 3. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์สำนักส่งเสริมฯ ประเด็นยุทธศาสตร์ของ สส. การเพิ่มขีดความสามารถการ เตรียมความพร้อม ในการจัดการสาธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ สส. กระเสริมสร้างสมรรถนะ องค์กร ให้มีประสิทธิภาพสูง สำนักส่งเสริมการ ป้องกันสาธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มขีด ความสามารถการเตรียมความพร้อมในการ จัดการสาธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริหาร จัดการสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉิน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การปรับปรุง การฟื้นฟูและบูรณะหลังเกิดภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง
แผนที่ยุทธศาสตร์ สำนักส่งเสริมการ ป้องกันสาธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ของ สส. การเพิ่มขีดความสามารถการเตรียม ความพร้อม ในการจัดการสาธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ของ สส. การเสริมสร้างสมรรถนะองค์กรให้มี ประสิทธิภาพสูง ประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ การพัฒนา องค์การ วิสัยทัศน์ของสำนัก : ส่งเสริม สนับสนุน ให้องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน อาสาสมัคร ชุมชน ประชาชนและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสาธารณภัย องค์กรเอกชน อาสาสมัครชุมชน และประชาชนเข้าร่วมเป็นภาคีเครือข่าย การเสริมสร้างระบบการควบคุมภายในมาตรการประหยัดพลังงานของหน่วยงาน การเพิ่มขีดความสามารถการเตรียมความพร้อม ในการจัดการสาธารณภัย พัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน พัฒนาศักยภาพชุมชนด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย
สำนักส่งเสริมการป้องกัน สาธารณภัย ประเด็น ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ตัวชี้วัดเป้าหมาย 1. การเพิ่มขีด ความสามารถการ เตรียมความพร้อม ในการจัดการสา ธารณภัย 1. การเพิ่มขีด ความสามารถ การเตรียมความพร้อม ใน การจัดการสาธารณ ภัย 1. ร้อยละสะสมของชุมชนที่มีความเสี่ยงภัย ดินโคลนถล่ม มีการ จัดการภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน ร้อยละ 100+A 2. องค์กรเอกชน อาสาสมัคร ชุมชนและประชาชน เข้าร่วมเป็น ภาคีเครือข่าย 2. จำนวนหน่วยกู้ภัยประจำตำบลที่ได้รับการ ฝึกอบรมและจัดตั้ง ทีมกู้ภัย 250 แห่ง / ตำบล 3. จำนวนโครงการที่ดำเนินงานเพื่อส่งเสริม การมีส่วนร่วมของ ชุมชนท้องถิ่น และเครือข่ายในการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย 7 โครงการ 3. พัฒนาศักยภาพ ชุมชนด้านการ ป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย 4. จำนวนชุมชนที่ผู้นำชุมชนได้รับการ พัฒนาศักยภาพในการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 460 ชุมชน 4. มาตรการประหยัด พลังงาน 5. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักในการบรรลุ เป้าหมายในการลดการใช้พลังงาน ระดับ 5 6. ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน ระดับ 5 2. เสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้ มีประสิทธิภาพสูง 5. พัฒนาบุคลากรใน หน่วยงาน 7. จำนวนบุคลากรสำนักส่งเสริมการป้องกัน สาธารณภัยที่ได้รับ การพัฒนาความรู้ 37 คน
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการภายในกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ของ สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตัวชี้วัดน้ำห นัก ( ร้อย ละ ) หน่วย นับ เป้าห มาย เกณฑ์การให้คะแนนหม าย เหตุ ร้อยละสะสมของชุมชนที่มีความ เสี่ยงภัยดินโคลนถล่ม มีการจัดการภัย พิบัติโดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน 20 ร้อยละร้อยละ 100+ A ร้อย ละ 85 (1,5 83) ร้อย ละ 90 (1,6 76) ร้อย ละ 95 (1,7 69) ร้อย ละ 100 (1,8 62) ร้อย ละ 100 +A 2. จำนวนหน่วยกู้ภัยประจำตำบลที่ ได้รับการฝึกอบรมและจัดตั้งทีมกู้ภัย 20 แห่ง / ตำบล จำนวนโครงการที่ดำเนินงานเพื่อ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่น และเครือข่ายในการป้องกัน และบรรเทา สาธารณภัย 15 โครงก าร จำนวนชุมชนที่ผู้นำชุมชนได้รับการ พัฒนาศักยภาพในการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย 20 ชุมชน ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายใน การลดการใช้พลังงาน 10 ระดับระดับ ระดับความสำเร็จของการควบคุม ภายใน 10 ระดับระดับ จำนวนบุคลากรสำนักส่งเสริมการ ป้องกันสาธารณภัย ที่ได้รับการพัฒนาความรู้ 5 คน 37 คน รวม 100