ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ สอนเศรษฐกิจพอเพียง ม. 5A
ความหมาย เศรษฐศาสตร์
คนมีความต้องการไม่จำกัด หัวใจเศรษฐศาสตร์คือ เลือกใช้ (Choice) ทรัพยากร(Resource) ที่มีอยู่ จำกัด คนมีความต้องการไม่จำกัด
Choice
ทรัพยากร ที่เป็นมนุษย์ ที่ไม่เป็นมนุษย์ ประชากรที่มีคุณภาพ เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ที่ไม่เป็นมนุษย์ มนุษย์สร้างขึ้น
การมีอยู่จำกัด (Scarcity) คืออะไร? คือมัน...“หามาได้ยาก” ลดลงเรื่อยๆ...ไงครับ
การเพิ่มขึ้น ของทรัพยากร การเพิ่มขึ้น ของประชากร
สรุปความหมาย ECON ได้ว่า... ความต้องการของมนุษย์ไร้ขีดจำกัด ทรัพยากรมีจำกัด ***คือ การเลือกใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดมาผลิตเป็นสินค้าและบริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่ไร้ขีดจำกัด
ต้องเลือก เหตุที่ต้องศึกษาเศรษฐศาสตร์ พอใจสูงสุด ทรัพยากรมีจำกัด Link ทำแบบฝึก ทรัพยากรมีจำกัด เกิดความขาดแคลน ต้องเลือก Opportunity Corse พอใจสูงสุด เมื่อเลือกสิ่งหนึ่งแล้ว ต้องเสียอีกสิ่งหนึ่งไป ต้นทุน ค่าเสียโอกาส
ความเป็นมาของ วิชาเศรษฐศาสตร์
เกิดเป็นแนวคิดไม่ใช่ทฤษฏีเศรษฐศาสตร์ สมัยโบราณ เกิดเป็นแนวคิดไม่ใช่ทฤษฏีเศรษฐศาสตร์
การค้ายุโรปเจริญรุ่งเรือง เกิดลัทธิพาณิชย์นิยม ศ.15 การค้ายุโรปเจริญรุ่งเรือง เกิดลัทธิพาณิชย์นิยม รัฐต้องเข้ามาแทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
แต่งตำรา The Wealth of Nations (1776) สนับสนุนเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ศ.18 แต่งตำรา The Wealth of Nations (1776) สนับสนุนเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม รัฐไม่ควรเข้ามาแทรกแซง เชื่อในกลไกราคา/มือที่มองไม่เห็น เป็นบิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์ Adam Smith
มาร์แชล เสนอทฤษฎีว่าด้วยการผลิต ศ.19 มาร์แชล เสนอทฤษฎีว่าด้วยการผลิต ผู้ผลิตต้องได้กำไรสูงสุดเสียต้นทุนต่ำสุด บิดาแห่ง ศ. จุลภาค Alfred Marshall
ศ.กิจตกต่ำทั่วโลกรุนแรง เคนส์ เสนอทฤษฎีว่าด้วยการจ้างงาน ดอกเบี้ย เงินตรา แนะให้รัฐบาลใช้นโยบายแทรกแซงระบบเศรษฐกิจ บิดาแห่ง ศ. มหภาค คศ.1930 John Maynard Keynes
เศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย
พ.ศ.2454 พระยาสุริยานุวัติ บิดาแห่งเศรษฐศาสตร์ไทย แต่งตำราเล่มแรกของไทย ชื่อว่า “ทรัพย์ศาสตร์”
พ.ศ.2477
ความสำคัญของ วิชาเศรษฐศาสตร์
1.ในฐานะผู้บริโภค ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการที่เราพอใจสูงสุด ภายใต้วงเงินที่จำกัด
2.ในฐานะผู้ผลิต ทำให้ได้กำไรสูงสุด ใช้ต้นทุนต่ำสุด
3.ในฐานะรัฐบาล กำหนดนโยบายแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ ประชาชนกินดีอยู่ดี คนมีงานทำ การกระจายรายได้เท่าเทียม
เศรษฐศาสตร์ มี 2 สาขา
1.เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro – Economics) ศึกษาหน่วยเล็กๆ มีราคาสินค้าบอก มีชื่อบุคคลที่ซื้อ-ขาย มีตลาด สถานที่ ผู้ผลิต คนงาน นายจ้าง เน้นส่วนบุคคล
2.เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macro – Economics) ศึกษาระดับประเทศ เช่น รายได้ประชาชาติ การออม, นโยบายการเงินการคลัง การลงทุน, เงินฝืด เงินเฟ้อ การค้าระหว่างประเทศ อัตราการจ้างงาน เน้นส่วนรวม Link แบบฝึกสาขา
ปัญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ
หากคุณเป็นผู้ประกอบการ... คุณจะทำธุรกิจหรือผลิตอะไร?
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 1. ปัญหาจะผลิตอะไร (WHAT) - ผลิตสินค้าอะไร 2. ปัญหาจะผลิตอย่างไร (HOW) - ใช้เทคนิคอย่างไร 3. ปัญหาจะผลิตเพื่อใคร (FOR WHOM) - ผลิตให้กับใคร จัดสรรให้แก่กลุ่มบุคคลใด
จงเปรียบเทียบสินค้าต่อไปนี้ ทรัพย์เสรีไร้ราคา เศรษฐทรัพย์
ทรัพย์เสรีไร้ราคา เศรษฐทรัพย์
เศรษฐทรัพย์ ทรัพย์เสรีไร้ราคา
ทรัพย์เสรี(น้ำคลอง) เศรษฐทรัพย์
เศรษฐทรัพย์ ทรัพย์เสรีไร้ราคา
ทรัพย์เสรีไร้ราคา เศรษฐทรัพย์
เศรษฐทรัพย์ ทรัพย์เสรีไร้ราคา
ทรัพย์เสรี เศรษฐทรัพย์
สรุปนะครับ
1.เศรษฐทรัพย์(Economic Goods) สินค้าที่มีต้นทุนการผลิต มีราคามากกว่าศูนย์ 1.1 สินค้าเอกชน ---> ของใครของมัน 1.2 สินค้าสาธารณะ--->บริโภคร่วมกันได้
2.ทรัพย์เสรี (Free Goods) สินค้าไร้ราคา ไม่มีต้นทุนการผลิต ระดับราคาเท่ากับศูนย์ มีอยู่ตามธรรมชาติมากมาย
ปัจจัยการผลิต ทุน ที่ดิน ดอกเบี้ย กำไร ค่าจ้าง ค่าเช่า แรงงาน ผู้ประกอบการ