ความคาดหวังต่อความพร้อม ห้องปฏิบัติการวินิจฉัยโรคสัตว์สู่คน ตามแนวทาง IHR Infectious Laboratory นพ. ภาสกร อัครเสวี สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
คำถาม ข้อสงสัย ข้อคิด Debate > Controversial project (concern=Danger) Crossrail Project และการค้นหา DNA เชื้อกาฬโรค จะมีอันตรายหรือไม่ Black Death (1/5 Europe) มีโอกาสเกิดขึ้นอีก หรือไม่ หรือมีเชื้อโรคที่มีศักยภาพใกล้เคียงกัน ทำไม Pandemic ของ Black Death จึงหยุดไป ( เอง ) ได้ ทั้งๆที่ไม่มียารักษา ( และวัคซีน ) ในขณะนั้น เชื้อโรค Black Death มีการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้ เชื้อโรคไปหรือไม่ เชื้อโรคมี genome ที่เหมือนหรือต่างกับเชื้อ ใน ปัจจุบัน
During epidemic and chaotic situation, live-dead, human behavior may react in any way, difficult to predict ลองดูตัวอย่าง......
Infectious patients ran away from treatment 26 July 2014
ปัจจุบัน ( และอนาคตที่ไม่ไกลนัก ) เรา เผชิญกับภัยคุกคาม ต่อสุขภาพ ใดบ้าง Infectious Organisms (virus, bacteria …..) Emerging, novel agents Cross – Species infections Environmental organism Occupational exposure to biological material Many are still unknown (Our knowledge – still limit)
ปัญหาทั่วไปที่เรา กำลังเผชิญอยู่ ทั่วไป Influenza, severe pneumonia Hand Foot Mouth Dis, and encephalitis syndrome DHF Chickenpox, Mumps, Measles, Pertussis Food Unsafety Resistant bacteria, TB, E. Coli, Staph, ….. HIV, Malaria, Syphillis, Herpes.. etc
จำนวนรายงานผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ รายสัปดาห์ ประเทศไทย พ.ศ จำนวนผู้ป่วย 43,071 ราย ตาย 61 ราย (0.14%CFR) H1N ราย H3 3 ราย Flu B 2 ราย สัปดาห์นี้ไม่มีรายงาน ผู้เสียชีวิต
Emerging Issue H1N H7N9, H5 MERS-CoV Ebola Polio Plague อาจมา West Nile, Yellow Fever …… Invasive bacteria…. (Aeromonas…)
Unknown, unusual (unexpected) illness and death Toxin พิษต่างๆ ( รวมทั้งเห็ดพิษ ) Drugs --- abused, illicit, crime Chemical – misused Accidents Contaminations Poisons Biological, Chemical, Environment Deliberate, Intention, Terrorism Expose to Radiation Mix or multiple hazards (during - conflicts, war, unrest จลาจล ) Chronic/Long Term consequences อวัยวะเสื่อม ถูกทำลาย พิการ จิต ประสาท ความสามารถการทำงาน อื่นๆ
Response, Control, Protection, Prevention Detection Establish Surveillance, Outbreak Investigation and early contain Eliminate, isolate – source of infection, vehicle Care, Case Management, specific treatment Protective Intervention – PPE, disinfection, anti- bacteria, anti-virus, vaccine, biological active agents, Non-pharmaceutical Intervention Public Health and Social approach Disease Control Program
งานของเราควรมีอะไรบ้าง ในด้าน Detection, Response, Protection, Prevention การตรวจจับ โดยเร็ว ทันสถานการณ์ Detection, identify causative agents (or substance or components) --- Laboratory การเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ครอบคลุม ประชากร พื้นที่ การสอบสวน ควบคุมโรคเบื้องต้น การประเมินความเสี่ยง และ การจัดการด้าน Technical Expert + Knowledge Management (TAG, Intelligence) Case Management, Hospital Care (HCWs)
Framework for decision Situation New Problem (forecast) Risk assessment, Exposure, Vulnerable population Occupation, Lifestyle, Environment
Framework How do we make ……. Guess….. Including my point of view, foresee future experience lesson learn from other projection from other
ร้อยละของผู้ป่วย ILI ที่ตรวจพบ เชื้อไข้หวัดใหญ่
จำนวนผู้ป่วย ผู้เสียชีวิต อัตราป่วย และอัตราป่วยตาย ไข้หวัดใหญ่ ประเทศไทย เชื้อ H1N1 H3N 2 H1N1, B H3N 2 H1N1, B,H3 จำนวนผู้ป่วย 120, , , , , ,07 1 จำนวนผู้เสียชีวิต (FluB 2, H3 3) อัตราป่วย (/100,000 pop) อัตราป่วยตาย (/100 cases) หมายเหตุ ข้อมูลเสียชีวิตปี 2552 – 2556 จากรายงาน 506 ข้อมูลเสียชีวิตปี 2557 จากรายงาน 506+ การแจ้งข่าวการระบาด
ร้อยละของผู้ป่วย ILI ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 18 กรกฏาคม 2557
อัตราป่วยโรคไข้หวัดใหญ่และสัดส่วน ILI รายจังหวัด พ. ศ อัตราป่วยต่อแสน ปชก – – มากกว่า 20 อัตราป่วย 4 wk ล่าสุด ( รายงาน 506) สัดส่วน ILI week 29 สถานพยาบาลส่งรายงานร้อยละ ( ระบบเฝ้าระวัง ILI รายสัปดาห์ ) ร้อยละ ILI/OPD 0.01 – – มากกว่า 10 จังหวัดเสี่ยง (1แดง หรือ 2 เหลือง) จังหวัดที่เป็นพื้นที่เสี่ยง (สีแดง)คือ ภูเก็ต พังงา
Influenza เสียชีวิต พ. ศ ตามสัปดาห์เริ่ม ป่วย (61 ราย ) H1N ราย H3 3 ราย Flu B 2 ราย H3 B H1N1 2009
Characteristics H1N1 2009(56) Flu B(2) H3(3) กลุ่มอายุ ปี (% อัตราป่วยตาย ตามกลุ่มอายุ ) – – – – – (0.02) 0 3 (0.08) 10 (0.20) 10 (0.22) 13 (0.36) 14 (0.57) 4 (0.23) - 1(0.02 ) - 1(0.06 ) - 1(0.03) 1(0.04) 1(0.06) ประวัติเสี่ยง (% อัตราป่วย ) - โรคเรื้อรัง ( อายุต่ำกว่า 65 ปี ) - ตั้งครรภ์ - ภาวะอ้วน ( ค่า BMI > 30) - กลุ่มเด็ก ( ต่ำกว่า 2 ปี ) - กลุ่มผู้สูงอายุ ( มากกว่า 65 ปี ) + โรคเรื้อรัง - ไม่มีโรคประจำตัวและภาวะ เสี่ยงอื่นๆ 26 (46.43%) 5 (8.93%) 6 (10.71%) 1 (1.79%) 4 (7.14%) 20 (35.71%) วันเริ่มป่วย – วันได้ Oseltamivir Median (range) มค.– มีค. 7 (0-14), เมย.- พค. 4 (0-8) วัน 1-3 วัน 1-16 วัน Influenza เสียชีวิต พ. ศ Influenza เสียชีวิต พ. ศ. 2557