การประเมินโครงการ (Project Evaluation)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

ความหมายของโครงงาน.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
Research- Fact finding
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การประเมินผลแผนงานสื่อสาร
การวางแผนและการดำเนินงาน
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
PDCA คืออะไร P D C A.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การถอดบทเรียน หลังจากการดำเนินกิจกรรมโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
การเพิ่มผลผลิต Productivity
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
SWOT.
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การถอดบทเรียน หลังจากการดำเนินกิจกรรมโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
หลักการเขียนโครงการ.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การเขียนโครงการ.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินโครงการ (Project Evaluation) โดย อาจารย์ ยุทธนา พรหมณี สมสุณีย์ ดวงแข Page 1

ทำไมต้องประเมินโครงการ การประเมินโครงการมีเป้าประสงค์หลักคือ ต้องการข้อมูลที่บ่งชี้ว่าโครงการที่ดำเนินการ นั้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่หรือ เป็นโครงการที่คุ้มค่าต่อการตัดสินใจในการดำ เนินการหรือไม่ รวมถึงการศึกษาว่าในการดำ เนินการโครงการมีปัญหาที่ต้องปรับปรุงเปลี่ยน แปลงหรือแก้ไขในเรื่องอะไรบ้าง และเป็นโครง การที่มีคุณค่ามากน้อยเพียงใด สมสุณีย์ ดวงแข Page 2

การประเมินโครงการคืออะไร การประเมินโครงการ หมายถึง กระบวนการรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อสรุปผลว่าโครงการ นั้น ๆ ได้บรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย และมีประสิทธิภาพ เพียงใด สมสุณีย์ ดวงแข Page 3

ประเภทของการประเมินโครงการ การประเมินโครงการจำแนกออกได้เป็น 4 ประเภท การประเมินโครงการก่อนดำเนินการ การประเมินระหว่างดำเนินการโครงการ การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการหรือประเมินผลผลิต การประเมินประสิทธิภาพ สมสุณีย์ ดวงแข Page 4

1.การประเมินโครงการก่อนดำเนินการ เป็นการศึกษาประเมินความเป็นไปได้ ก่อนที่เริ่มโครงการใด ๆ โดยอาจทำการศึกษาถึงประสิทธิภาพของปัจจัยป้อน ความ เหมาะสมของกระบวนการที่คาดว่าจะนำมาใช้ในการบริหารจัดการ โครงการ ปัญหา อุปสรรค ความเสี่ยงของโครงการ ตลอดจน ผลลัพธ์ หรือประสิทธิผลที่คาดว่าจะได้รับ ในขณะเดียวกันก็อาจจะศึกษาผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในด้านต่าง ๆ เช่น - การประเมินผลกระทบด้านสังคม - การประเมินผลกระทบด้านนิเวศ - การประเมินผลกระทบด้านการเมือง - การประเมินผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ สมสุณีย์ ดวงแข Page 5

1.การประเมินระหว่างดำเนินการโครงการ เป็นการประเมินผลเพื่อการปรับปรุงเป็นสำคัญซึ่งมักจะใช้ ประเมินผลระหว่างแผนหรือระหว่างพัฒนาโครงการ ผลที่ ได้จะช่วยตั้งวัตถุประสงค์ของโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมาย ที่แท้จริง นอกจากนั้นการประเมินระหว่างดำเนินโครงการ จะช่วยตรวจสอบว่าโครงการได้ดำเนินไปตามแผนของโครงการ อย่างไร สมสุณีย์ ดวงแข Page 6

การประเมินระหว่างดำเนินการโครงการ อาจใช้ประเมินสิ่งต่อไปนี้ 1.ทบทวนแผนของโครงการ 2.การสร้างแผนของโครงการ 3.การพัฒนาแบบสอบถาม 4.การเตรียมข้อมูลที่จะเป็นข่าวสาร สำหรับการรายงาน 5.การแนะนำแนวทางปรับปรุงการแก้ปัญหา และการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติของโครงการ สมสุณีย์ ดวงแข Page 7

3.การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการ เป็นการประเมินผลรวมสรุป มักจะใช้ประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ ซึ่งผลสรุปที่ได้จะนำสู่การรายงายว่า โครงการได้บรรลุเป้าหมาย (Goals) หรือไม่อย่างไร ตลอดจนการรายงานถึงสถานภาพของ โครงการว่าประสบความสำเร็จหรือล้มเหลวเพียงไร มีปัญหาหรือ อุปสรรคใดที่ต้องแก้ไขปรับปรุงข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้ผู้บริหาร โครงการสามารถนำไปสู่การตัดสินว่า โครงการนั้นควรดำเนินการต่อ หรือยกเลิก สมสุณีย์ ดวงแข Page 8

4.การประเมินประสิทธิภาพ การประเมินประสิทธิภาพของโครงการมักจะเริ่มจากคำถามต่าง ๆ กัน เช่น 1. ความสำเร็จของโครงการนั้น ๆ เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายแล้วมี ความเหมาะสมหรือไม่ 2. ผลผลิตของโครงการเกิดจากปัจจัยที่ลงทุนไปใช่หรือไม่ 3. โครงการนี้มีผลผลิตสูงกว่าโครงการอื่น ๆ เมื่อลงทุนเท่ากันหรือไม่ และเพราะเหตุใด สมสุณีย์ ดวงแข Page 9

การประเมินแบบซิป (CIPP Model) (Srufflebeam’s CIPP Model) เป็นการประเมินภาพรวมของโครงการ ตั้งแต่บริบท ปัจจัยป้อน กระบวนการ และผลผลิต (Context, Input, Process and product) โดยจะใช้วิธีการ สร้างเกณฑ์และประสิทธิภาพของโครงการ ทั้งภาพรวม หรือรายปัจจัยเป็นสำคัญ สมสุณีย์ ดวงแข Page 10

ประสิทธิภาพของผลผลิต -หลักการ - วัตถุประสงค์ของโครงการ - เป้าหมายของโครงการ - การเตรียมการภายในโครงการ ประเมินสภาวะแวดล้อม ( Context Evaluation ) - บุคลากร - วัสดุอุปกรณ์ - เครื่องมือเครื่องใช้ - งบประมาณ ประเมินการปัจจัยเบื้องต้น ( Input Evaluation ) -การดำเนินโครงการ -กิจกรรมการดำเนินงานตามโครงการ - การนิเทศติตามกำกับ - การประเมินผล ประเมินกระบวนการ ( Process Evaluation ) ประสิทธิภาพของผลผลิต การประเมินผลผลิต ( Product Evaluation ) สมสุณีย์ ดวงแข Page 11

สวัสดี สมสุณีย์ ดวงแข Page 12