จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

คำบรรยายพิเศษพิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2549 สพท.ขอนแก่น เขต 4 นายสายัณห์ ผาน้อย.
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง รับผิดชอบหลายด้าน.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานการบริหารและการจัดการศึกษา
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วิเคราะห์จุดอ่อน – จุดแข็ง และแนวทางแก้ไขปัญหาของงานข้อมูลสารสนเทศ ในความสัมพันธ์ระดับต่าง ๆ ของหน่วยงาน กลุ่มที่ ๔ กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ สถานศึกษา ที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน.
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ กลุ่มที่ ๓ จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ

ขั้นตอนการปฏิบัติงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จ ประเด็นของจุดเน้น ขั้นตอนการปฏิบัติงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 3.1 สถานศึกษาและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบริหารจัดการโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ เน้นการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วม และการรับผิดชอบต่อการดำเนินงาน (Participation and Accountability) 1. สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ปฏิบัติและผู้เกี่ยวข้อง 2. สร้างทีมงานในการบริหารงบประมาณในแต่ละระดับ 3. กำหนดมาตรการในการบริหารงบประมาณให้ชัดเจน ในระดับ สพท.และสถานศึกษา 4. จัดทำแผนควบคุม กำกับ ที่ชัดเจนเชื่อมโยงกันทุกระดับ 5. จัดระบบรายงานผลความก้าวเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง 6. พัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านการบริหารงบประมาณ ระดับสถานศึกษาให้แข็งแกร่ง สร้างระเบียบวินัยการบริหารงบประมาณ มีระบบการสื่อสารที่ดีต่อเนื่อง สัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ปฏิบัติ การคิดเชิงบวกเพื่อองค์กร ความรู้ความเข้าใจของผู้ปฏิบัติ การทำงานที่เป็นระบบต่อเนื่อง มีระบบติดตาม การจัดตั้งและเบิกจ่ายงบประมาณออนไลน์ที่พิจารณาโดย สพฐ. และกำหนดเป็นภารกิจที่ต้องปฏิบัติร่วมกันทุกระดับ

ประเด็นของจุดเน้น ขั้นตอนการปฏิบัติงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 3.2สถานศึกษาและสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน (สพท.) สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องมาตรฐานสำนักงานแก่บุคลากรในสำนักงานด้วยรูปแบบที่หลากหลาย จัดทำแนวทางและแผนการดำเนินงานตามมาตรฐาน มอบหมายภารกิจให้ผู้รับรายมาตรฐานและรายตัวบ่งชี้ ดำเนินการขับเคลื่อนมาตรฐาน การดำเนินงานที่กำหนด ติดตาม ตรวจสอบการดำเนินงานตามมาตรฐานเป็นระยะ ประเมินตนเองตามมาตรฐาน จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำผลการปฏิบัติมาพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารองค์กรทุกระดับต้องเข้มแข็ง มีการสร้างแรงจูงใจแก่ผู้ปฏิบัติที่เหมาะสม มีระบบการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ยั่งยืน

ประเด็นของจุดเน้น ขั้นตอนการปฏิบัติงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 3.2 สถานศึกษาและสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน (สถานศึกษา) ส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาระบบประกันคุณภาพที่สอดคล้องกับบริบทและอัตลักษณ์ของแต่ละโรงเรียน สร้างและสนับสนุนเครือข่ายสถานศึกษาให้เข้มแข็งในการร่วมมือพัฒนาคุณภาพการศึกษา พัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษาให้เป็นระบบ ปรับปรุงระบบการนิเทศติดตามผลการจัดการศึกษาที่เป็นระบบครบวงจร สนับสนุนการวิจัยพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศึกษา ผู้บริหารทุกระดับ/ครูดำเนินการด้วยความจริงจังและต่อเนื่อง ความร่วมมือขององค์คณะบุคคลในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษา การมีส่วนร่วมขององค์กร ชุมชน ในการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมทำ ร่วมนำไปใช้ ร่วมชื่นชม นิเทศแบบครบวงจร