การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
สาขาทารกแรกเกิดและสูติกรรม
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
พ.ศ ลำดับการดำเนินงานในจังหวัดขอนแก่น คณะทำงานชี้แจงในที่ประชุม
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
สรุปการประชุม เขต 10.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่ ตามข้อแนะนำองค์การอนามัยโลกในบริบทประเทศไทย จินตนา พัฒนพงศ์ธร

การจัดการ ส่วนกลาง 1.การประชุมพัฒนาความรู้ให้กับหน่วยบริการฯโดยศูนย์อนามัยเขต 2. จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน ANCให้แก่หน่วย บริการฯ 3. กำกับ ติดตาม ด้วยระบบรายงานและการนำเสนอผลงานอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 4. การประเมินและรับรองมาตรฐานANC 5. สรุปผล นำเสนอผู้บริหาร (ส่วนกลาง/ภูมิภาค)

2.การบริหารจัดการของ หน่วยงานปฎิบัติ ประชุมชี้แจงผู้ปฎิบัติงานทุกระดับ ตั้งทีมงานรับผิดชอบพัฒนางาน วางระบบการจัดเก็บข้อมูลวิเคราะห์ปัญหาและนำเสนอต่อผู้บริหารและ คณะกรรมการMCH วางแผนพัฒนาระบบบริการ

3. วางแผนพัฒนาระบบบริการ 3. วางแผนพัฒนาระบบบริการ พัฒนาบุคลากรทั้งด้านความรู้และทักษะในงานอนามัยแม่และเด็ก การจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ ยา เวชภัณฑ์ ให้พอเพียง การปรับปรุงสถานที่ - โรงเรียนพ่อแม่ - คลินิกฝากครรภ์ที่ OPD - ห้องสังเกตอาการทารกคลอดปกติที่ห้องคลอด - คลินิกสุขภาพเด็กดีที่ OPD

4. วางแผนพัฒนาระบบบริการ 4. วางแผนพัฒนาระบบบริการ พัฒนากระบวนการทำงาน และประสานงานกับกลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ฝ่ายเวชกรรมสังคม, สสอ. การเก็บข้อมูลที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่างกลุ่มงาน ระบบงานต่าง ๆ เช่น ระบบส่งต่อเชื่อมสู่สถานีอนามัยในเครือข่าย การติดตามเยี่ยม และประเมินผล เป็นระยะ

การจัดระบบบริการ การจัดระบบโซนในการดูแลผู้ตั้งครรภ์ ในการเจาะเลือดครั้งที่ 1, ครั้งที่ 2 การให้ความรู้โรงเรียนพ่อแม่ การส่งต่อผู้ตั้งครรภ์จากสถานีอนามัยตามระบบโซน มา โรงพยาบาล พบแพทย์และตรวจ Ultrasound, Urine exam, Pelvic exam เมื่ออายุครรภ์ 18-20 สัปดาห์ ประชุมชี้แจงเรื่องนโยบายและขั้นตอนการปฏิบัติ, การใช้ความรู้และการฝึกทักษะการใช้แบบฟอร์ม แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติงาน 100 % การใช้สติ๊กเกอร์สัญลักษณ์เพื่อการส่งต่อข้อมูล

ชี้แจงผู้บริการก่อนและให้สมัครเข้าโครงการโดยความสมัครใจ

ติดประกาศให้ผู้รับบริการทราบ

ข้อมูลความพึงพอใจ ผู้รับบริการ - เข้าใจการฝากครรภ์แนวใหม่ ร้อยละ 100 - เข้าใจการฝากครรภ์แนวใหม่ ร้อยละ 100 - พอใจกับระยะเวลาการนัดตรวจครรภ์ ร้อยละ 90 ไม่แน่ใจ(กังวล) ร้อยละ 10 - ตรวจปัสสาวะ พอใจ ร้อยละ 70 รอนาน ร้อยละ 30 - ตรวจภายใน พอใจ ร้อยละ 70 กังวล ร้อยละ 30 - กังวลใจกับการนัดที่ 41 สัปดาห์ ร้อยละ 70

การประเมินระบบดูแลครรภ์คุณภาพ ผลลัพธ์ 1. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง เกินร้อยละ 10 (ก่อน-หลังไม่ Sig) 2. อัตราส่วนมารดาตาย ลพบุรีและมหาสารคามไม่มีแม่ตาย/อีก 3 จังหวัด ก่อน-หลัง ไม่พบความแตกต่าง 3. อัตราทารกขาดออกซิเจน (1 นาที) น้อยกว่า 30 : 1,000 (ก่อน-หลัง ไม่ Sig) 4. อัตราทารกน้ำหนักน้อย มากกว่าร้อยละ 7 5. อัตราทารกตายปริกำเนิด น้อยกว่า 9 : 1,000

การประเมินระบบดูแลครรภ์แนวใหม่ ผลผลิตโครงการ ร้อยละ 1. ทัศนคติต่อการดำเนินงานโครงการ หัวหน้าคลินิกและผู้ปฏิบัติงาน ทุกคนเห็นด้วย 2. ความพึงพอใจต่อการบริการของผู้รับบริการ พึงพอใจระดับมาก 3. ความครบถ้วนการบริการฯ - ประเมินความเสี่ยง 98.3 - สอบถามพฤติกรรมสุขภาพ 65 - สอบถามประวัติสูติกรรม 94.4 - ซักประวัติการเจ็บป่วยที่ผ่านมา 82.8 - ชั่งน้ำหนัก ตรวจซิฟิลิส หมู่เลือด ธาลัสซีเมีย วัความดัน ตรวจหน้าท้อง ฟังเสียงหัวใจเด็ก ตรวจท่าเด็ก ดูส่วนนำ ตรวจร่ายกาย 100 ตรวจภายใน 69.8/ ตรวจปัสสาวะ 98.3 รับข้อมูลการนัดครั้งต่อไป คำแนะนำต่างๆ บันทึก ในสมุดบันทึกสุขภาพ 95 รับยาบำรุงที่มีไอโอดีน 93.3 / รับแคลเซียม 99.4 4. จำนวนครั้งเฉลี่ยที่มาฝากครรภ์ 4.1-10.7 ครั้ง 5. ข้อร้องเรียน มีแนวโนม้ลดลง

ปัญหาและอุปสรรค ด้านผู้ให้บริการ 1.1 ขาดความรู้ ความเข้าใจ ความมั่นใจ ความสับสนในการบริการ - การใช้ Classifying form - การนัดตรวจครรภ์ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน - การลงบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน - ไม่มั่นใจการตรวจภายในของพยาบาล 1.2 เครื่องมืออุปกรณ์ ไม่พร้อม ไม่จัดซื้อให้เพียงพอ

ปัญหาและอุปสรรค ด้านผู้ให้บริการ 1.1 ขาดความรู้ ความเข้าใจ ความมั่นใจ ความสับสนในการบริการ - การใช้ Classifying form - การนัดตรวจครรภ์ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน - การลงบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน - ไม่มั่นใจการตรวจภายในของพยาบาล 1.2 เครื่องมืออุปกรณ์ ไม่พร้อม ไม่จัดซื้อให้เพียงพอ

ปัญหาและอุปสรรค 1. ด้านผู้ให้บริการ 1.3 การบันทึกข้อมูล การส่งต่อ - การติดตามและการลงบันทึกผลและรายละเอียดที่ ปฏิบัติจริง รวมทั้งการรักษาบางรายข้อมูลไม่ ครบถ้วนลงเฉพาะสุมด ANC ไม่ลงใน OPD card - การส่งต่อผู้ป่วยกรณีมาคลอด และการบันทึกข้อมูล การคลอดของผู้ป่วยฝากครรภ์แนวใหม่ยังไม่ได้แยก ออกมาชัดเจน ทำให้ค้นหาข้อมูลได้ยาก - ยังไม่ได้เก็บข้อมูลการตรวจผู้ป่วยที่ส่งมาจากสถานี อนามัยเครือข่าย เช่น ผลตรวจ UA, ผลตรวจ PV 1.4 ด้านสถานที่ คับแคบ ไม่เป็นสัดส่วน

ปัญหาและอุปสรรค 2. ด้านผู้บริการ - ความวิตกกังวล ไม่อยากตรวจภายใน - ความหลากหลายเชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม - รอนานเพราะบริการเพิ่มขึ้น - เสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม - ไม่มารับบริการตามนัด ทำให้ผู้รับบริการคับคั่ง

ความเป็นไปได้ทางการเงิน การประเมินระบบดูแลครรภ์คุณภาพ ความเป็นไปได้ทางการเงิน ความเป็นไปได้ โอกาสพัฒนา - ใช้งบประมาณส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคของหน่วยบริการสาธารณสุข ตามชุดสิทธิประโยชน์ - เร่งรัดการสนับสนุนงบประมาณ - สร้างความเข้าใจ หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักรู้การ ฝากครรภ์คุณภาพ

ความเป็นไปได้ทางโครงสร้าง การประเมินระบบดูแลครรภ์คุณภาพ ความเป็นไปได้ทางโครงสร้าง ความเป็นไปได้ โอกาสพัฒนา - การทำงานเป็นทีม - การสร้างความเข้าใจต่อเนื่อง - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ปรับเปลี่ยนทัศนคติของแพทย์ - พัฒนาศักยภาพพยาบาลด้านตรวจภายใน อัลตราซาวด์ และระบบดูแลครรภ์คุณภาพ

ความเป็นไปได้ทางระบบ การประเมินระบบดูแลครรภ์คุณภาพ ความเป็นไปได้ทางระบบ ความเป็นไปได้ โอกาสพัฒนา - ผู้บริหารสาธารณสุขระดับจังหวัดให้ความสำคัญ - นโยบาย - คณะกรรมการอนามัยแม่และเด็ก ติดตาม ประเมินสม่ำเสมอ ปรับปรุงต่อเนื่อง - การแบ่งโซน เครือข่าย สูตินรีแพทย์ เป็นหัวหน้าทีม นิเทศ ติดตาม - จัดระบบเครือข่ายแม่และเด็ก โรงพยาบาล และสถานีอนามัย - วิเคราะห์ ประเมินกระบวนการคุณภาพ - เร่งรัดการประสานงานส่วนกลาง – ภูมิภาค - ศูนย์อนามัย, คณะกรรมการอนามัยแม่และเด็ก นิเทศ ติดตาม โรงพยาบาลชุมชน สถานีอนามัย ต่อเนื่อง

ความเป็นไปได้ทางปฏิบัติการ การประเมินระบบดูแลครรภ์คุณภาพ ความเป็นไปได้ทางปฏิบัติการ ความเป็นไปได้ โอกาสพัฒนา - จัดสรรวิตามินเสริมธาตุเหล็ก ไอโอดีน โฟสิก - แนวทางบริการฝากครรภ์แนวใหม่ระดับจังหวัด - เพิ่มเกณฑ์ประเมินความเสี่ยง และการบริการในสมุดสีชมพู - เพิ่มคุณภาพบริการ ปรับเปลี่ยนบัญชียาโรงพยาบาล - ใช้แถบตรวจปัสสาวะ - ปรับปรุงระบบรวบรวมข้อมูล ผลตรวจห้องปฏิบัติการ - ประชาสัมพันธ์ จัดทำสื่อ - ปรับปรุงระบบส่งต่อข้อมูลจากสถานีอนามัย โรงพยาบาลชุมชน

ปัจจัยความสำเร็จและข้อเสนอแนะ ทบทวนและให้ความรู้แก่ผู้ปฎิบัติงาน ANC แนวใหม่ทุกระดับ อธิบายและเพิ่มความตระหนักแก่สูติแพทย์ในการบริการตรวจภายใน ฝึกทักษะให้พยาบาลที่คลินิกฝากครรภ์สามารถตรวจภายในได้ เน้นการลงทะเบียนผู้ป่วยฝากครรภ์แนวใหม่ ให้ถูกต้องรวมถึงการลงผล UA และ PV และการวินิจฉัยการรักษา กรณีผลผิดปกติ การเชื่อมโยงข้อมูลไปยังห้องคลอด และการลงบันทึกการคลอดในผู้ป่วยฝากครรภ์แนวใหม่

ขอบคุณค่ะ