การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่ ตามข้อแนะนำองค์การอนามัยโลกในบริบทประเทศไทย จินตนา พัฒนพงศ์ธร
การจัดการ ส่วนกลาง 1.การประชุมพัฒนาความรู้ให้กับหน่วยบริการฯโดยศูนย์อนามัยเขต 2. จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน ANCให้แก่หน่วย บริการฯ 3. กำกับ ติดตาม ด้วยระบบรายงานและการนำเสนอผลงานอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 4. การประเมินและรับรองมาตรฐานANC 5. สรุปผล นำเสนอผู้บริหาร (ส่วนกลาง/ภูมิภาค)
2.การบริหารจัดการของ หน่วยงานปฎิบัติ ประชุมชี้แจงผู้ปฎิบัติงานทุกระดับ ตั้งทีมงานรับผิดชอบพัฒนางาน วางระบบการจัดเก็บข้อมูลวิเคราะห์ปัญหาและนำเสนอต่อผู้บริหารและ คณะกรรมการMCH วางแผนพัฒนาระบบบริการ
3. วางแผนพัฒนาระบบบริการ 3. วางแผนพัฒนาระบบบริการ พัฒนาบุคลากรทั้งด้านความรู้และทักษะในงานอนามัยแม่และเด็ก การจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ ยา เวชภัณฑ์ ให้พอเพียง การปรับปรุงสถานที่ - โรงเรียนพ่อแม่ - คลินิกฝากครรภ์ที่ OPD - ห้องสังเกตอาการทารกคลอดปกติที่ห้องคลอด - คลินิกสุขภาพเด็กดีที่ OPD
4. วางแผนพัฒนาระบบบริการ 4. วางแผนพัฒนาระบบบริการ พัฒนากระบวนการทำงาน และประสานงานกับกลุ่มงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ฝ่ายเวชกรรมสังคม, สสอ. การเก็บข้อมูลที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่างกลุ่มงาน ระบบงานต่าง ๆ เช่น ระบบส่งต่อเชื่อมสู่สถานีอนามัยในเครือข่าย การติดตามเยี่ยม และประเมินผล เป็นระยะ
การจัดระบบบริการ การจัดระบบโซนในการดูแลผู้ตั้งครรภ์ ในการเจาะเลือดครั้งที่ 1, ครั้งที่ 2 การให้ความรู้โรงเรียนพ่อแม่ การส่งต่อผู้ตั้งครรภ์จากสถานีอนามัยตามระบบโซน มา โรงพยาบาล พบแพทย์และตรวจ Ultrasound, Urine exam, Pelvic exam เมื่ออายุครรภ์ 18-20 สัปดาห์ ประชุมชี้แจงเรื่องนโยบายและขั้นตอนการปฏิบัติ, การใช้ความรู้และการฝึกทักษะการใช้แบบฟอร์ม แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติงาน 100 % การใช้สติ๊กเกอร์สัญลักษณ์เพื่อการส่งต่อข้อมูล
ชี้แจงผู้บริการก่อนและให้สมัครเข้าโครงการโดยความสมัครใจ
ติดประกาศให้ผู้รับบริการทราบ
ข้อมูลความพึงพอใจ ผู้รับบริการ - เข้าใจการฝากครรภ์แนวใหม่ ร้อยละ 100 - เข้าใจการฝากครรภ์แนวใหม่ ร้อยละ 100 - พอใจกับระยะเวลาการนัดตรวจครรภ์ ร้อยละ 90 ไม่แน่ใจ(กังวล) ร้อยละ 10 - ตรวจปัสสาวะ พอใจ ร้อยละ 70 รอนาน ร้อยละ 30 - ตรวจภายใน พอใจ ร้อยละ 70 กังวล ร้อยละ 30 - กังวลใจกับการนัดที่ 41 สัปดาห์ ร้อยละ 70
การประเมินระบบดูแลครรภ์คุณภาพ ผลลัพธ์ 1. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง เกินร้อยละ 10 (ก่อน-หลังไม่ Sig) 2. อัตราส่วนมารดาตาย ลพบุรีและมหาสารคามไม่มีแม่ตาย/อีก 3 จังหวัด ก่อน-หลัง ไม่พบความแตกต่าง 3. อัตราทารกขาดออกซิเจน (1 นาที) น้อยกว่า 30 : 1,000 (ก่อน-หลัง ไม่ Sig) 4. อัตราทารกน้ำหนักน้อย มากกว่าร้อยละ 7 5. อัตราทารกตายปริกำเนิด น้อยกว่า 9 : 1,000
การประเมินระบบดูแลครรภ์แนวใหม่ ผลผลิตโครงการ ร้อยละ 1. ทัศนคติต่อการดำเนินงานโครงการ หัวหน้าคลินิกและผู้ปฏิบัติงาน ทุกคนเห็นด้วย 2. ความพึงพอใจต่อการบริการของผู้รับบริการ พึงพอใจระดับมาก 3. ความครบถ้วนการบริการฯ - ประเมินความเสี่ยง 98.3 - สอบถามพฤติกรรมสุขภาพ 65 - สอบถามประวัติสูติกรรม 94.4 - ซักประวัติการเจ็บป่วยที่ผ่านมา 82.8 - ชั่งน้ำหนัก ตรวจซิฟิลิส หมู่เลือด ธาลัสซีเมีย วัความดัน ตรวจหน้าท้อง ฟังเสียงหัวใจเด็ก ตรวจท่าเด็ก ดูส่วนนำ ตรวจร่ายกาย 100 ตรวจภายใน 69.8/ ตรวจปัสสาวะ 98.3 รับข้อมูลการนัดครั้งต่อไป คำแนะนำต่างๆ บันทึก ในสมุดบันทึกสุขภาพ 95 รับยาบำรุงที่มีไอโอดีน 93.3 / รับแคลเซียม 99.4 4. จำนวนครั้งเฉลี่ยที่มาฝากครรภ์ 4.1-10.7 ครั้ง 5. ข้อร้องเรียน มีแนวโนม้ลดลง
ปัญหาและอุปสรรค ด้านผู้ให้บริการ 1.1 ขาดความรู้ ความเข้าใจ ความมั่นใจ ความสับสนในการบริการ - การใช้ Classifying form - การนัดตรวจครรภ์ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน - การลงบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน - ไม่มั่นใจการตรวจภายในของพยาบาล 1.2 เครื่องมืออุปกรณ์ ไม่พร้อม ไม่จัดซื้อให้เพียงพอ
ปัญหาและอุปสรรค ด้านผู้ให้บริการ 1.1 ขาดความรู้ ความเข้าใจ ความมั่นใจ ความสับสนในการบริการ - การใช้ Classifying form - การนัดตรวจครรภ์ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน - การลงบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน - ไม่มั่นใจการตรวจภายในของพยาบาล 1.2 เครื่องมืออุปกรณ์ ไม่พร้อม ไม่จัดซื้อให้เพียงพอ
ปัญหาและอุปสรรค 1. ด้านผู้ให้บริการ 1.3 การบันทึกข้อมูล การส่งต่อ - การติดตามและการลงบันทึกผลและรายละเอียดที่ ปฏิบัติจริง รวมทั้งการรักษาบางรายข้อมูลไม่ ครบถ้วนลงเฉพาะสุมด ANC ไม่ลงใน OPD card - การส่งต่อผู้ป่วยกรณีมาคลอด และการบันทึกข้อมูล การคลอดของผู้ป่วยฝากครรภ์แนวใหม่ยังไม่ได้แยก ออกมาชัดเจน ทำให้ค้นหาข้อมูลได้ยาก - ยังไม่ได้เก็บข้อมูลการตรวจผู้ป่วยที่ส่งมาจากสถานี อนามัยเครือข่าย เช่น ผลตรวจ UA, ผลตรวจ PV 1.4 ด้านสถานที่ คับแคบ ไม่เป็นสัดส่วน
ปัญหาและอุปสรรค 2. ด้านผู้บริการ - ความวิตกกังวล ไม่อยากตรวจภายใน - ความหลากหลายเชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม - รอนานเพราะบริการเพิ่มขึ้น - เสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม - ไม่มารับบริการตามนัด ทำให้ผู้รับบริการคับคั่ง
ความเป็นไปได้ทางการเงิน การประเมินระบบดูแลครรภ์คุณภาพ ความเป็นไปได้ทางการเงิน ความเป็นไปได้ โอกาสพัฒนา - ใช้งบประมาณส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคของหน่วยบริการสาธารณสุข ตามชุดสิทธิประโยชน์ - เร่งรัดการสนับสนุนงบประมาณ - สร้างความเข้าใจ หญิงตั้งครรภ์ ตระหนักรู้การ ฝากครรภ์คุณภาพ
ความเป็นไปได้ทางโครงสร้าง การประเมินระบบดูแลครรภ์คุณภาพ ความเป็นไปได้ทางโครงสร้าง ความเป็นไปได้ โอกาสพัฒนา - การทำงานเป็นทีม - การสร้างความเข้าใจต่อเนื่อง - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ปรับเปลี่ยนทัศนคติของแพทย์ - พัฒนาศักยภาพพยาบาลด้านตรวจภายใน อัลตราซาวด์ และระบบดูแลครรภ์คุณภาพ
ความเป็นไปได้ทางระบบ การประเมินระบบดูแลครรภ์คุณภาพ ความเป็นไปได้ทางระบบ ความเป็นไปได้ โอกาสพัฒนา - ผู้บริหารสาธารณสุขระดับจังหวัดให้ความสำคัญ - นโยบาย - คณะกรรมการอนามัยแม่และเด็ก ติดตาม ประเมินสม่ำเสมอ ปรับปรุงต่อเนื่อง - การแบ่งโซน เครือข่าย สูตินรีแพทย์ เป็นหัวหน้าทีม นิเทศ ติดตาม - จัดระบบเครือข่ายแม่และเด็ก โรงพยาบาล และสถานีอนามัย - วิเคราะห์ ประเมินกระบวนการคุณภาพ - เร่งรัดการประสานงานส่วนกลาง – ภูมิภาค - ศูนย์อนามัย, คณะกรรมการอนามัยแม่และเด็ก นิเทศ ติดตาม โรงพยาบาลชุมชน สถานีอนามัย ต่อเนื่อง
ความเป็นไปได้ทางปฏิบัติการ การประเมินระบบดูแลครรภ์คุณภาพ ความเป็นไปได้ทางปฏิบัติการ ความเป็นไปได้ โอกาสพัฒนา - จัดสรรวิตามินเสริมธาตุเหล็ก ไอโอดีน โฟสิก - แนวทางบริการฝากครรภ์แนวใหม่ระดับจังหวัด - เพิ่มเกณฑ์ประเมินความเสี่ยง และการบริการในสมุดสีชมพู - เพิ่มคุณภาพบริการ ปรับเปลี่ยนบัญชียาโรงพยาบาล - ใช้แถบตรวจปัสสาวะ - ปรับปรุงระบบรวบรวมข้อมูล ผลตรวจห้องปฏิบัติการ - ประชาสัมพันธ์ จัดทำสื่อ - ปรับปรุงระบบส่งต่อข้อมูลจากสถานีอนามัย โรงพยาบาลชุมชน
ปัจจัยความสำเร็จและข้อเสนอแนะ ทบทวนและให้ความรู้แก่ผู้ปฎิบัติงาน ANC แนวใหม่ทุกระดับ อธิบายและเพิ่มความตระหนักแก่สูติแพทย์ในการบริการตรวจภายใน ฝึกทักษะให้พยาบาลที่คลินิกฝากครรภ์สามารถตรวจภายในได้ เน้นการลงทะเบียนผู้ป่วยฝากครรภ์แนวใหม่ ให้ถูกต้องรวมถึงการลงผล UA และ PV และการวินิจฉัยการรักษา กรณีผลผิดปกติ การเชื่อมโยงข้อมูลไปยังห้องคลอด และการลงบันทึกการคลอดในผู้ป่วยฝากครรภ์แนวใหม่
ขอบคุณค่ะ