วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
การสอนงาน (Coaching) Internal Training & Coaching
สอนให้ศิษย์ เก่ง ดี มีสุข รศ.นพ.สุชาติ อารีมิตร.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
วิธีการทางสุขศึกษา.
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
สถานีอนามัยบ้านแมด ตำบลดงชน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
สรุปผลหลังการฝึกทักษะประกอบรายวิชา สถานีอนามัยบ้านหนองปลาน้อย ตำบลเหล่าปอแดง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร นักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ปีที่ 3.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หน่วย การเรียนรู้.
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
สรุปการประชุม เขต 10.
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
และการนำไปใช้ประโยชน์
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
โครงการ พัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาล หอผู้ป่วยพิเศษ 1
วิธีสอนแบบอุปนัย.
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ 1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้วผู้เข้ารับการ.
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล KM วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล

ปัญหา นักศึกษาขาดความใส่ใจในการเก็บประสบการณ์บนหอผู้ป่วย นักศึกษาขาดการเตรียมความพร้อม ไม่อ่าน/เตรียมความรู้ในสิ่งที่ควรรู้ ขาดความละเอียดในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้ระยะเวลาในการทำงาน/รายงาน ค่อนข้างนาน

ปัญหาการรวบรวมข้อมูล ไม่รู้ทิศทางในการรวบรวมข้อมูล อ่าน Chart ไม่ถูก/อ่านไม่ออก ไม่มั่นใจในการศึกษาข้อมูล ไม่เข้าใจประเด็นการรวบรวมข้อมูล ไม่เข้าใจในข้อมูลที่รวบรวมมาได้ ไม่รวบรวมข้อมูลให้ครอบคลุม นำข้อมูลที่เป็นข้อวินิจฉัยของแพทย์มาเป็นข้อมูลสนับสนุน

การแก้ปัญหา สอนเรื่องการศึกษาเวชระเบียนให้ละเอียด สอนเน้นย้ำเรื่องการรวบรวมข้อมูล การประเมินสภาพผู้ป่วย Post – Conference ในภาพรวม

การแก้ปัญหา การใช้กระบวนการพยาบาลควรเน้น Anatomy Physiology ที่เปลี่ยนแปลง Pre – conference ต้องให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ ปรับการเรียนการสอนวิชาหลักการและเทคนิคการพยาบาลให้เน้นการใช้กระบวนการพยาบาล

การจัดการความรู้ วิชา ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 1 ที่มาของปัญหา อาจารย์นิเทศวิชา ปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล พบว่า นักศึกษาขาดความใส่ใจในการเก็บประสบการณ์บนหอผู้ป่วย นักศึกษาขาดการเตรียมความพร้อม ไม่อ่าน/เตรียมความรู้ในสิ่งที่ควรรู้ ขาดความละเอียดในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้ระยะเวลาในการทำงาน/รายงาน ค่อนข้างนาน

ปัญหาการรวบรวมข้อมูล ที่มาของปัญหา ไม่รู้ทิศทางในการรวบรวมข้อมูล อ่าน Chart ไม่ถูก/อ่านไม่ออก ไม่มั่นใจในการศึกษาข้อมูล ไม่เข้าใจประเด็นการรวบรวมข้อมูล ไม่เข้าใจในข้อมูลที่รวบรวมมาได้ ไม่รวบรวมข้อมูลให้ครอบคลุม นำข้อมูลที่เป็นข้อวินิจฉัยของแพทย์มาเป็นข้อมูลสนับสนุน

กิจกรรมการจัดการความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างอาจารย์นิเทศวิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล และวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 1 และอาจารย์ประจำกลุ่มสาระวิชาการพยาบาล 1 วิเคราะห์สาเหตุของการเกิดปัญหา สรุปแนวทางการแก้ไขปัญหา การพัฒนาทักษะการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพและทบทวนทักษะการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วย

สรุปแนวทางการแก้ไขปัญหา สอนเรื่อง การศึกษาเวชระเบียนให้ละเอียดสอนและสาธิต เรื่องการรวบรวมข้อมูล การประเมินสภาพผู้ป่วย การซักประวัติและการตรวจร่างกาย การใช้กระบวนการพยาบาลควรเน้น Anatomy Physiology ที่เปลี่ยนแปลง สามารถ วิเคราะห์เชื่อมโยงทฤษฎีเกี่ยวกับโรคและพยาธิสภาพของผู้ป่วยได้ และนำไปสู่การวาง แผนการพยาบาลได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับผู้ป่วยรายบุคคล Pre – conference ต้องให้ทุกคนมีส่วนร่วม ในการนำเสนอ Case NCP กระตุ้นให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันอย่างมีเหตุผล

จุดแข็ง (Strength) อาจารย์ที่ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นอาจารย์ในกลุ่มสาระวิชการพยาบาล 1 และส่วนใหญ่นิเทศนักศึกษาทั้งรายวิชา ปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล และวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 1 ซึ่งเห็นพฤติกรรมและพัฒนาการของนักศึกษา และสามารถส่งต่อข้อมูลนักศึกษาในรายที่มีปัญหา เพื่อได้รับการดูแลที่ต่อเนื่องจากอาจารย์นิเทศใน Ward ต่อไป

ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ การกำหนดประเด็นปัญหาที่ชัดเจน อาจารย์ให้ความร่วมมือ เห็นความสำคัญของปัญหาและต้องการพัฒนา บรรยากาศเป็นกันเอง ยอมรับฟังซึ่งกันและกัน มีการจัดเวลาในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไว้อย่างชัดเจน