กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
สำนักงานตรวจสอบภายใน
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การประชุมชี้แจง แนวทางการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลัง
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การจัดทำงบประมาณ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
การประชุมผู้บริหารกรม
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
Creative Mind กลุ่ม 2.
การตรวจสอบด้านการเงิน
การตรวจสอบธุรกิจสินเชื่อ
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
สรุปผลการประเมินผลการควบคุมภายใน
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย

พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 กันยายน 2557.
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ไม่พบข้อบกพร่องและพบข้อบกพร่อง
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
1 เรื่อง หลักเกณฑ์และ เงื่อนไข การ พิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่ง สาธารณูปโภคอื่น เพื่อการ จัดสวัสดิการภายในส่วน ราชการ.
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
การพัฒนาข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51

แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ

จัดทำเพื่อเสนอผลการตรวจสอบต่อ คณะกรรมการดำเนินการ พร้อมทั้งให้ ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ต่อสหกรณ์ รายงานการ ตรวจสอบกิจการ ประจำเดือน รายงานการตรวจสอบกิจการ

หัวข้อการรายงานประกอบด้วย 1. วัตถุประสงค์ เพื่อระบุวัตถุประสงค์การตรวจสอบแต่ละ ด้าน เช่น ด้านบริหารงานทั่วไป เพื่อทราบว่า มีการแบ่งแยกหน้าที่ มีการแบ่งแยกหน้าที่ การกำหนดงบประมาณรายได้ รายจ่าย การกำหนดงบประมาณรายได้ รายจ่าย การกำหนดระเบียบ การกำหนดระเบียบ การปฏิบัติงานตามการแบ่งแยก หน้าที่ การปฏิบัติงานตามการแบ่งแยก หน้าที่รายงานการตรวจสอบกิจการ

2. ขอบเขตการตรวจสอบ / วิธีการตรวจสอบ ให้ระบุวิธีการที่ใช้ในการตรวจสอบ ปริมาณงาน ให้ระบุวิธีการที่ใช้ในการตรวจสอบ ปริมาณงาน และระยะเวลาที่ได้ปฏิบัติ รวมถึง ข้อจำกัดของสหกรณ์ที่ และระยะเวลาที่ได้ปฏิบัติ รวมถึง ข้อจำกัดของสหกรณ์ที่ ไม่สามารถตรวจสอบได้ เช่น ไม่สามารถตรวจสอบได้ เช่นด้านบริหารงานทั่วไป ตรวจสอบการจัดองค์การและการ แบ่งแยกหน้าที่ สอบทานการกำหนดระเบียบปฏิบัติ ตรวจสอบการจัดทำงบประมาณรายงานการตรวจสอบกิจการ

3. ผลการตรวจสอบและข้อเสนอแนะ 3. ผลการตรวจสอบและข้อเสนอแนะ ให้อธิบายข้อเท็จจริงที่ได้จาก การตรวจสอบ ข้อสังเกต หรือ ข้อบกพร่องที่ควรแก้ไขปรับปรุงพร้อม ข้อเสนอแนะ เช่น ให้อธิบายข้อเท็จจริงที่ได้จาก การตรวจสอบ ข้อสังเกต หรือ ข้อบกพร่องที่ควรแก้ไขปรับปรุงพร้อม ข้อเสนอแนะ เช่นด้านบริหารงานทั่วไป การจัดองค์การเหมาะสมชัดเจน เพียงใด มีการปฏิบัติตามโครงสร้าง และการแบ่งแยกหน้าที่หรือไม่ การจัดองค์การเหมาะสมชัดเจน เพียงใด มีการปฏิบัติตามโครงสร้าง และการแบ่งแยกหน้าที่หรือไม่ การแบ่งแยกหน้าที่ในแต่ละตำแหน่ง เหมาะสม การแบ่งแยกหน้าที่ในแต่ละตำแหน่ง เหมาะสมรายงานการตรวจสอบกิจการ

เจ้าหน้าที่มีความรู้เหมาะสมกับ ตำแหน่ง รวมทั้งมี เจ้าหน้าที่มีความรู้เหมาะสมกับ ตำแหน่ง รวมทั้งมี หลักประกันเหมาะสม หลักประกันเหมาะสม การกำหนดระเบียบครบถ้วน การกำหนดระเบียบครบถ้วน การจัดทำงบประมาณเป็นไปอย่างมี หลักเกณฑ์ และ การจัดทำงบประมาณเป็นไปอย่างมี หลักเกณฑ์ และ มีการใช้จ่ายเงินตามงบประมาณที่ กำหนด รายงานการตรวจสอบกิจการ

4. การติดตามผลการแก้ไขปรับปรุง ให้อธิบายถึงการติดตามผลการ แก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นใน เดือนก่อนที่ได้ตรวจพบและได้เคย เสนอแนะให้แก้ไข สหกรณ์มีการแก้ไข ปรับปรุงหรือไม่อย่างไร หากไม่สามารถแก้ไขได้ให้สอบถาม สาเหตุที่ไม่อาจแก้ไข ปรับปรุงได้ โดย รายงานการตรวจสอบกิจการ

4.1 ให้สรุปข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในเดือน ก่อนและ ผลการแก้ไข ผลการแก้ไข 4.2 ติดตามวิธีการแก้ไขข้อบกพร่อง 4.2 ติดตามวิธีการแก้ไขข้อบกพร่อง  มีการแก้ไขเป็นบางส่วน หรือ ทั้งหมด วิธีการเหมาะสมหรือไม่ ผลการแก้ไขเป็นอย่างไร  ไม่มีการแก้ไข สอบถามสาเหตุ ของปัญหาและอุปสรรคที่ไม่ สามารถแก้ไขได้ หากสหกรณ์นิ่ง เฉยไม่ยอมแก้ไขให้รายงานซ้ำรายงานการตรวจสอบกิจการ

จัดทำเพื่อเสนอผลการตรวจสอบต่อที่ ประชุม ใหญ่สามัญประจำปี โดยสรุปผลการ ตรวจสอบในภาพรวมทั้งปี รวมถึงข้อบกพร่องที่ ตรวจพบอย่างมีสาระสำคัญ และเป็นจุดอ่อนใน การควบคุมภายใน สหกรณ์ได้แก้ไขอย่างไร เพื่อให้ที่ประชุมใหญ่ทราบข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ จัดทำเพื่อเสนอผลการตรวจสอบต่อที่ ประชุม ใหญ่สามัญประจำปี โดยสรุปผลการ ตรวจสอบในภาพรวมทั้งปี รวมถึงข้อบกพร่องที่ ตรวจพบอย่างมีสาระสำคัญ และเป็นจุดอ่อนใน การควบคุมภายใน สหกรณ์ได้แก้ไขอย่างไร เพื่อให้ที่ประชุมใหญ่ทราบข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ รายงานการ ตรวจสอบกิจการ ประจำปี รายงานการตรวจสอบกิจการ

หัวข้อการรายงานประกอบด้วย 1. วัตถุประสงค์ เพื่อระบุวัตถุประสงค์ การตรวจสอบ ในภาพรวม 2. ขอบเขตการตรวจสอบ / วิธีการ ตรวจสอบ อธิบายถึง วิธีการตรวจสอบที่ใช้ รวมทั้งข้อจำกัดที่ไม่ สามารถตรวจสอบได้ รายงานการตรวจสอบกิจการ

3. ผลการตรวจสอบและข้อเสนอแนะที่ สหกรณ์ ควรแก้ไข อธิบายถึงข้อสรุปข้อเท็จจริงที่ได้ ในภาพรวมว่า สหกรณ์มีข้อสังเกต หรือข้อบกพร่องที่อาจ เกิดความเสียหาย อย่างเป็นสาระสำคัญ 4. การติดตามผลการแก้ไขปรับปรุง อธิบายถึงผล การติดตามแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในปี ก่อน ที่ได้เคยรายงาน ต่อที่ประชุมใหญ่ 5. เรื่องอื่น ๆ อธิบายผลการตรวจสอบ ที่นอกเหนือ จากข้อ 3 ที่เห็นว่าจำเป็นต้องรายงานให้ที่ ประชุมใหญ่ทราบ รายงานการตรวจสอบกิจการ

หากตรวจสอบพบการทุจริต หรือมี การปฏิบัติหรือ ละเว้นการปฏิบัติ อัน ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สหกรณ์ โดย มีหลักฐานแน่ชัดเชื่อถือได้ ให้ดำเนินการ 1. รายงานผลการตรวจสอบด้วย วาจาต่อคณะกรรมการ หรือให้สหกรณ์ เรียกประชุมคณะกรรมการในทันที 2. รายงานผลการตรวจสอบเป็นลาย ลักษณ์อักษรเสนอ ที่ประชุมคณะกรรมการ รายงานกรณีเร่งด่วนรายงานกรณีเร่งด่วนรายงานการตรวจสอบกิจการ

3. ส่งสำเนารายงานผลการตรวจสอบ ให้ส่วนราชการ มีหน้าที่กำกับดูแลสหกรณ์ ทราบโดยเร็ว 3. ส่งสำเนารายงานผลการตรวจสอบ ให้ส่วนราชการ มีหน้าที่กำกับดูแลสหกรณ์ ทราบโดยเร็ว 3.1 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 3.1 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ภูมิภาค ส่งสำนักงาน ตรวจบัญชีสหกรณ์ ภูมิภาค ส่งสำนักงาน ตรวจบัญชีสหกรณ์ ส่วนกลาง ส่งกรมตรวจ บัญชีสหกรณ์ ส่วนกลาง ส่งกรมตรวจ บัญชีสหกรณ์ 3.2 กรมส่งเสริมสหกรณ์ 3.2 กรมส่งเสริมสหกรณ์ ภูมิภาค ส่งสำนักงาน สหกรณ์จังหวัด ภูมิภาค ส่งสำนักงาน สหกรณ์จังหวัด ส่วนกลาง ส่งสำนักงาน ส่งเสริมสหกรณ์ ส่วนกลาง ส่งสำนักงาน ส่งเสริมสหกรณ์ พื้นที่ 1, 2 พื้นที่ 1, 2รายงานการตรวจสอบกิจการ