กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51
แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ รายงาน ประจำเดือน รายงานประจำปี รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ
จัดทำเพื่อเสนอผลการตรวจสอบต่อ คณะกรรมการดำเนินการ พร้อมทั้งให้ ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ต่อสหกรณ์ รายงานการ ตรวจสอบกิจการ ประจำเดือน รายงานการตรวจสอบกิจการ
หัวข้อการรายงานประกอบด้วย 1. วัตถุประสงค์ เพื่อระบุวัตถุประสงค์การตรวจสอบแต่ละ ด้าน เช่น ด้านบริหารงานทั่วไป เพื่อทราบว่า มีการแบ่งแยกหน้าที่ มีการแบ่งแยกหน้าที่ การกำหนดงบประมาณรายได้ รายจ่าย การกำหนดงบประมาณรายได้ รายจ่าย การกำหนดระเบียบ การกำหนดระเบียบ การปฏิบัติงานตามการแบ่งแยก หน้าที่ การปฏิบัติงานตามการแบ่งแยก หน้าที่รายงานการตรวจสอบกิจการ
2. ขอบเขตการตรวจสอบ / วิธีการตรวจสอบ ให้ระบุวิธีการที่ใช้ในการตรวจสอบ ปริมาณงาน ให้ระบุวิธีการที่ใช้ในการตรวจสอบ ปริมาณงาน และระยะเวลาที่ได้ปฏิบัติ รวมถึง ข้อจำกัดของสหกรณ์ที่ และระยะเวลาที่ได้ปฏิบัติ รวมถึง ข้อจำกัดของสหกรณ์ที่ ไม่สามารถตรวจสอบได้ เช่น ไม่สามารถตรวจสอบได้ เช่นด้านบริหารงานทั่วไป ตรวจสอบการจัดองค์การและการ แบ่งแยกหน้าที่ สอบทานการกำหนดระเบียบปฏิบัติ ตรวจสอบการจัดทำงบประมาณรายงานการตรวจสอบกิจการ
3. ผลการตรวจสอบและข้อเสนอแนะ 3. ผลการตรวจสอบและข้อเสนอแนะ ให้อธิบายข้อเท็จจริงที่ได้จาก การตรวจสอบ ข้อสังเกต หรือ ข้อบกพร่องที่ควรแก้ไขปรับปรุงพร้อม ข้อเสนอแนะ เช่น ให้อธิบายข้อเท็จจริงที่ได้จาก การตรวจสอบ ข้อสังเกต หรือ ข้อบกพร่องที่ควรแก้ไขปรับปรุงพร้อม ข้อเสนอแนะ เช่นด้านบริหารงานทั่วไป การจัดองค์การเหมาะสมชัดเจน เพียงใด มีการปฏิบัติตามโครงสร้าง และการแบ่งแยกหน้าที่หรือไม่ การจัดองค์การเหมาะสมชัดเจน เพียงใด มีการปฏิบัติตามโครงสร้าง และการแบ่งแยกหน้าที่หรือไม่ การแบ่งแยกหน้าที่ในแต่ละตำแหน่ง เหมาะสม การแบ่งแยกหน้าที่ในแต่ละตำแหน่ง เหมาะสมรายงานการตรวจสอบกิจการ
เจ้าหน้าที่มีความรู้เหมาะสมกับ ตำแหน่ง รวมทั้งมี เจ้าหน้าที่มีความรู้เหมาะสมกับ ตำแหน่ง รวมทั้งมี หลักประกันเหมาะสม หลักประกันเหมาะสม การกำหนดระเบียบครบถ้วน การกำหนดระเบียบครบถ้วน การจัดทำงบประมาณเป็นไปอย่างมี หลักเกณฑ์ และ การจัดทำงบประมาณเป็นไปอย่างมี หลักเกณฑ์ และ มีการใช้จ่ายเงินตามงบประมาณที่ กำหนด รายงานการตรวจสอบกิจการ
4. การติดตามผลการแก้ไขปรับปรุง ให้อธิบายถึงการติดตามผลการ แก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นใน เดือนก่อนที่ได้ตรวจพบและได้เคย เสนอแนะให้แก้ไข สหกรณ์มีการแก้ไข ปรับปรุงหรือไม่อย่างไร หากไม่สามารถแก้ไขได้ให้สอบถาม สาเหตุที่ไม่อาจแก้ไข ปรับปรุงได้ โดย รายงานการตรวจสอบกิจการ
4.1 ให้สรุปข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในเดือน ก่อนและ ผลการแก้ไข ผลการแก้ไข 4.2 ติดตามวิธีการแก้ไขข้อบกพร่อง 4.2 ติดตามวิธีการแก้ไขข้อบกพร่อง มีการแก้ไขเป็นบางส่วน หรือ ทั้งหมด วิธีการเหมาะสมหรือไม่ ผลการแก้ไขเป็นอย่างไร ไม่มีการแก้ไข สอบถามสาเหตุ ของปัญหาและอุปสรรคที่ไม่ สามารถแก้ไขได้ หากสหกรณ์นิ่ง เฉยไม่ยอมแก้ไขให้รายงานซ้ำรายงานการตรวจสอบกิจการ
จัดทำเพื่อเสนอผลการตรวจสอบต่อที่ ประชุม ใหญ่สามัญประจำปี โดยสรุปผลการ ตรวจสอบในภาพรวมทั้งปี รวมถึงข้อบกพร่องที่ ตรวจพบอย่างมีสาระสำคัญ และเป็นจุดอ่อนใน การควบคุมภายใน สหกรณ์ได้แก้ไขอย่างไร เพื่อให้ที่ประชุมใหญ่ทราบข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ จัดทำเพื่อเสนอผลการตรวจสอบต่อที่ ประชุม ใหญ่สามัญประจำปี โดยสรุปผลการ ตรวจสอบในภาพรวมทั้งปี รวมถึงข้อบกพร่องที่ ตรวจพบอย่างมีสาระสำคัญ และเป็นจุดอ่อนใน การควบคุมภายใน สหกรณ์ได้แก้ไขอย่างไร เพื่อให้ที่ประชุมใหญ่ทราบข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ รายงานการ ตรวจสอบกิจการ ประจำปี รายงานการตรวจสอบกิจการ
หัวข้อการรายงานประกอบด้วย 1. วัตถุประสงค์ เพื่อระบุวัตถุประสงค์ การตรวจสอบ ในภาพรวม 2. ขอบเขตการตรวจสอบ / วิธีการ ตรวจสอบ อธิบายถึง วิธีการตรวจสอบที่ใช้ รวมทั้งข้อจำกัดที่ไม่ สามารถตรวจสอบได้ รายงานการตรวจสอบกิจการ
3. ผลการตรวจสอบและข้อเสนอแนะที่ สหกรณ์ ควรแก้ไข อธิบายถึงข้อสรุปข้อเท็จจริงที่ได้ ในภาพรวมว่า สหกรณ์มีข้อสังเกต หรือข้อบกพร่องที่อาจ เกิดความเสียหาย อย่างเป็นสาระสำคัญ 4. การติดตามผลการแก้ไขปรับปรุง อธิบายถึงผล การติดตามแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในปี ก่อน ที่ได้เคยรายงาน ต่อที่ประชุมใหญ่ 5. เรื่องอื่น ๆ อธิบายผลการตรวจสอบ ที่นอกเหนือ จากข้อ 3 ที่เห็นว่าจำเป็นต้องรายงานให้ที่ ประชุมใหญ่ทราบ รายงานการตรวจสอบกิจการ
หากตรวจสอบพบการทุจริต หรือมี การปฏิบัติหรือ ละเว้นการปฏิบัติ อัน ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สหกรณ์ โดย มีหลักฐานแน่ชัดเชื่อถือได้ ให้ดำเนินการ 1. รายงานผลการตรวจสอบด้วย วาจาต่อคณะกรรมการ หรือให้สหกรณ์ เรียกประชุมคณะกรรมการในทันที 2. รายงานผลการตรวจสอบเป็นลาย ลักษณ์อักษรเสนอ ที่ประชุมคณะกรรมการ รายงานกรณีเร่งด่วนรายงานกรณีเร่งด่วนรายงานการตรวจสอบกิจการ
3. ส่งสำเนารายงานผลการตรวจสอบ ให้ส่วนราชการ มีหน้าที่กำกับดูแลสหกรณ์ ทราบโดยเร็ว 3. ส่งสำเนารายงานผลการตรวจสอบ ให้ส่วนราชการ มีหน้าที่กำกับดูแลสหกรณ์ ทราบโดยเร็ว 3.1 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 3.1 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ภูมิภาค ส่งสำนักงาน ตรวจบัญชีสหกรณ์ ภูมิภาค ส่งสำนักงาน ตรวจบัญชีสหกรณ์ ส่วนกลาง ส่งกรมตรวจ บัญชีสหกรณ์ ส่วนกลาง ส่งกรมตรวจ บัญชีสหกรณ์ 3.2 กรมส่งเสริมสหกรณ์ 3.2 กรมส่งเสริมสหกรณ์ ภูมิภาค ส่งสำนักงาน สหกรณ์จังหวัด ภูมิภาค ส่งสำนักงาน สหกรณ์จังหวัด ส่วนกลาง ส่งสำนักงาน ส่งเสริมสหกรณ์ ส่วนกลาง ส่งสำนักงาน ส่งเสริมสหกรณ์ พื้นที่ 1, 2 พื้นที่ 1, 2รายงานการตรวจสอบกิจการ