ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ วิชาภาษาไทย ท42101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ ครูเชี่ยวชาญ คศ.4
การฟัง การดูและการพูด เป็นการสื่อสารที่มุ่งให้ได้รับความสำเร็จตามความมุ่งหมายการสื่อสาร การฟังและการพูดมีแนวทางสำคัญคือเพื่อให้รู้จุดประสงค์ของการส่งและรับสารแล้วนำมาเป็นแนวทางพัฒนาตนเองและสังคม
หมายความว่าพิจารณาความน่าเชื่อถือของสารเพื่อนำความรู้จากการฟังและการดูมาเป็นแนวทางตัดสินใจแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนอละสังคมสามารถพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสารที่ได้ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
การฟังและการดูอย่างมีสัมฤทธิ์ผล เป็นการฟังและการดูเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จในการสื่อสาร ทำให้ผู้ส่งและผู้รับสารเข้าใจประเด็นของการสื่อสารอย่างถ่องแท้
การฟังคือการรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน เป็นการรับสารทางการดูคือการรับรู้ความหมายจากภาพที่เห็นเป็นการรับสารทางตา
การฟังและการดูจัดเป็นการสื่อสาร ในลักษณะของการรับสารเบื้องต้น มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน และ ส่งเสริมให้การรับสารมีผลสัมฤทธิ์ มากขึ้น เช่น การดูโฆษณาน้ำหอม เป็นต้น
การฟังและการดูสื่อรูปแบบต่างๆ ผู้รับสารควรวิเคราะห์ถึงการส่งสารในรูปแบบต่าง ๆว่ามีสาระสำคัญประการใด มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ มีเหตุผล ข้อคิดและข้อเท็จจริงอย่างไร ที่มีคุณค่ามาพัฒนาตนเองและสังคม
ประเภทของสื่อรวม 8 ชนิด 1. สื่อประเภทการโฆษณา 2. สื่อประเภทโฆษณา 3. สื่อประเภทเรื่องเล่า สื่อประเภทละคร 4.
ประเภทของสื่อ(ต่อ) สื่อประเภทสัมภาษณ์ สื่อประเภทข่าวสาร 5. สื่อประเภทสัมภาษณ์ 6. สื่อประเภทข่าวสาร 7. สื่อประเภทปาฐกถา สื่อประเภทสุนทรพจน์ 8.
สื่อประเภทต่าง ๆ ที่เราได้ฟังและการดู อาจมีมากกว่า 8 ประเภท เพราะในปัจจุบันนี้ เทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น หลักสำคัญที่ควรปฏิบัติคือจะต้องคำนึงถึงสัมฤทธิ์ผลของการรับสารให้มากที่สุด