นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
-การหันไปสู่เศรษฐกิจการตลาด อย่างหนักแน่น
หน้าที่ของผู้บริหาร.
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
The Nature of technology
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
สาระสำคัญในแผนพัฒนาสาธารณสุข
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
การพัฒนาองค์กรด้วยนวัตกรรม ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การบริหารและกระบวนการวางแผน
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
นโยบายอาญาและการป้องกันอาชญากรรม
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์กายภาพทั้ง 6 ภาคของไทย และสภาวะแวดล้อมต่างๆ ศึกษาภัยธรรมชาติต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือปรากฏการณ์ในพื้นที่
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
การพัฒนาตนเอง.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การเริ่มต้นธุรกิจ SMEs
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
วิเคราะห์ปัญหาและยุทธศาสตร์การพัฒนาAnalysis on Problems and Strategies of Development ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม

วิกฤติการณ์ทางสิ่งแวดล้อม หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อุดมการณ์ของการพัฒนาเศรษฐกิจได้แพร่กระจาย เข้าไปในประเทศต่าง ๆ ของโลกที่สาม ผลของการพัฒนาตามแนวทางทุนนิยมดังกล่าวได้ก่อให้เกิดการทำลายทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง ประเทศไทยเองก็ตกอยู่ในสถานการณ์ที่เลวร้ายและน่ากลัวนั้น เนื่องจากพบว่าสิ่งแวดล้อมและฐานทรัพยากรธรรมชาติได้ถูกใช้อย่างหนัก ความเสื่อมโทรม และความตึงเครยดทางสิ่งแวดล้อมปรากฏให้เห็นทั้งในเมืองและชนบท อย่างน่าวิตก

วิถีการพัฒนาแบบทำลายล้าง อาจสรุปได้ว่า ระบบการพัฒนาของไทยในช่วง 40 ปี ที่ผ่านมา มีลักษณะที่สำคัญ ๆ ดังต่อไปนี้ มีการประเมินค่าของธรรมชาติต่ำมาก มีการให้ความสำคัญสูงแก่เรื่องการแสวงหาความเจริญสูงสุด มีความเชื่อมั่นในระบบเศรษฐกิจสังคมที่ดำรงอยู่ มีการวางนโยบายเพื่อผลประโยชน์ในวงที่คับแคบ

นโยบายสิ่งแวดล้อมในแผนพัฒนา แนวนโยบายของยุคเมื่อ 40 ปีที่ผ่านมา ต้องยอมรับว่าเป็นความก้าวหน้าในระดับหนึ่ง เพราะแผนพัฒนาของไทย 3 แผนแรก (ในช่วง 2504-2519) ไม่ได้กล่าวถึงนโยบายสิ่งแวดล้อมเลย ในสมัยนั้นทรัพยากรธรรมชาติมีไว้เพื่อการขูดรีดและใช้ประโยชน์ เพื่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างไม่มีขีดจำกัด ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 (2520-2524) นักวางแผนเริ่มมองเห็นแล้วว่า การขูดรีดทรัพยากรเพื่อการพัฒนากำลังนำความ ทรุดโทรมมาสู่ระบบนิเวศของไทยอย่างร้ายแรง จนถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 ในภาคปฏิบัติยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น

การวางแผนนโยบายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ของไทยเริ่มมีรูปร่างอย่างเป็นระบบในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 (2530-2534) ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 (2535-2539) คือจุดเปลี่ยนที่สำคัญของประวัติศาสตร์การพัฒนาของไทย แผนใหม่นี้มีวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการด้วยกัน คือ

1. รักษาความเจริญของเศรษฐกิจต่อไป พร้อม ๆ กับเสถียรภาพ ของระบบเศรษฐกิจ 2. ส่งเสริมการกระจายรายได้และการพัฒนาชนบท 3. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ปรับปรุงคุณภาพชิวิต รวมทั้งคุณภาพ ของสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 (2540-2544) ประกาศว่าประเทศไทยใช้แนวทางที่เรียกว่า “การพัฒนาแบบยั่งยืนยาวนาน” หรือ “Sustainable Development” กระทั่งถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (2545-2549) ประเทศไทย ยังผลิตอุดมการณ์การพัฒนาแบบยั่งยืนอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งปัจจุบัน

ปรัชญาแห่งความยั่งยืน จากประสบการณ์ของการพัฒนากว่า 40 ปี เป็นที่ประจักษ์ชัดแล้วว่า แนวคิดและยุทธศาสตร์การพัฒนากระแสหลักที่เน้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจค่อนข้างจะล้มเหลว ด้วยเหตุนี้ จึงมีความพยายามเกิดขึ้นที่จะแสวงหาหนทาง และวิธีการเพื่อนำเอาเรื่อง “การพัฒนา” และ “สิ่งแวดล้อม” มาผสมผสานกันเพื่อแก้ปัญหาวิกฤติการณ์สิ่งแวดล้อม

เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์นี้ การพัฒนาแบบยั่งยืนจึงมีหลักการพื้นฐาน ที่สำคัญที่สุด 3 ข้อ คือ 1. ให้ความสำคัญสูงสุดแก่ค่าของสิ่งแวดล้อม 2. ขยายมิติเวลาไปสู่อนาคต 3. เน้นหนักเรื่องความยุติธรรม

หลักการพื้นฐานของการพัฒนา แบบยั่งยืน 1. ค่าของสิ่งแวดล้อม - ระบบเศรษฐกิจจะต้องคำนึงถึงเกี่ยวกับค่าของสิ่งแวดล้อม - จะต้องมีการประเมินค่าของสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง - ในการประเมินโครงการพัฒนา จำเป็นต้องมีการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมอย่างระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการทำลายระบบนิเวศ ส่งเสริมคุณภาพทางสิ่งแวดล้อมและฟื้นฟูธรรมชาติ

2. มิติแห่งอนาคต ความยั่งยืน หมายถึง ความยาวนานของกาลเวลา มองจากแง่นี้แล้วการพัฒนาแบบยั่งยืน ก็คือ การพัฒนาเพื่ออนาคต ในการมองอนาคต จุดหนักไม่ได้อยู่ที่การสร้างวัตถุ หากแต่เป็นเรื่องของการพิทักษ์รักษาความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้อยู่คงทน นั่นหมายความว่าอนาคตของลูกหลานจะต้องมี “ทุนธรรมชาติ” (Natural Capital) ไม่น้อยไปกว่ายุคของเรา

3. ความยั่งยืนทางนิเวศ หลักการพื้นฐานทั้ง 3 ข้อ (ค่าของธรรมชาติ มิติอนาคต และความยุติธรรม) คือประสิทธิภาพของการพัฒนาที่ครอบคลุมเป้าหมาย “ความยั่งยืนทางนิเวศ” (Ecological Sustainable)

หลักการพื้นฐาน ในการรักษาความยั่งยืนทางนิเวศ 1. พิทักษ์รักษากระบวนการทางนิเวศที่สำคัญ ๆ และระบบรองรับ การดำรงชีวิตของมนุษย์ 2. คุ้มครองความหลากหลายของระบบนิเวศ 3. ใช้ทรัพยากรแบบยั่งยืน 4. รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 5. สร้างความสมดุลระหว่างการใช้ธรรมชาติกับการเพิ่มประชากร

สรุป นิเวศวิทยา สอนเรา ว่าการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์ธรรมชาติจะไม่เกิดประสิทธิผลแต่อย่างใด ถ้าหากคนเรายังคงมีวิธีคิดเกี่ยวกับธรรมชาติแบบเก่า ๆ นั่นคือการมองว่าธรรมชาติดำรงอยู่เพื่อเศรษฐกิจหรือธุรกิจ ความยั่งยืนยาวนานต้องการวิธีคิกแบบใหม่ ซึ่งให้ความสำคัญสูงแก่การประเมินค่าของธรรมชาติ ซึ่งหมายถึง - ความเคารพและห่วงใยในสรรพสิ่งทั้งหลายของโลกธรรมชาติ - ความอยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืนระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ - การให้ความคุ้มครองธรรมชาติ ซึ่งสำคัญกว่าการส่งเสริมความเจริญทางเศรษฐกิจ