การใช้รูปแบบการแนะแนวสำหรับการแก้ปัญหาผู้เรียน ให้เป็นคนดีของสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
Advertisements

นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเลขานุการ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การใช้แนวการสอนภาษาที่เน้นคำศัพท์เพื่อส่งเสริมความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ ความสามารถทางการอ่านและแรงจูงใจของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ Use of Lexical.
นางสาวพรสุดา ดอกบัว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
การใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขันเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
“ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบริหารโครงการ โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดการเรียนการสอน” ผลงานวิจัยเรื่อง โดย นางสุภาวดี แก้วเก้า.
วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้รูปแบบการแนะแนวสำหรับการแก้ปัญหาผู้เรียน ให้เป็นคนดีของสังคม ดร.ญาณินท์ คุณา สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย ปัจจุบันวิถีชีวิตของนักศึกษาอาชีวศึกษากำลังเผชิญกับบริโภคนิยม (การใช้ของแพงเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของสถานภาพทางสังคม) การเที่ยวเตร่ยามค่ำคืน ยาเสพติด การดำเนินวิถีชีวิตของนักศึกษาอาชีวศึกษาในสังคมเมืองมีการแข่งขันค่อนข้างสูง ภายใต้อิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม และอิทธิพลของสังคมโลกตะวันตกที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่งมีการต่อสู้แข่งขันโดยไม่คำนึงถึงความถูกต้องเหมาะสมตามหลักศีลธรรม มีพฤติกรรมย่อหย่อนในความรับผิดชอบ และชอบใช้ความรุนแรง (กระทรวงศึกษาธิการ.2553)

ปัญหาการวิจัย (ต่อ) นักแนะแนว /ครูที่ทำหน้าที่แนะแนวที่มีความรู้ทางการแนะแนวเชิงจิตวิทยาด้วยแล้ว ซึ่งจะทำให้สามารถแก้ปัญหาให้ลดลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสมดุลทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เพื่อเป็นคนดี มีปัญญา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม จะได้ช่วยบรรเทาความวิตกกังวล และเดินข้ามผ่านช่วงเวลาวิกฤตต่างๆ เหล่านั้นไปได้ โดยใช้วิธีการแก้ปัญหาอย่างสันติวิธีที่ไม่ใช้ความรุนแรงในการตัดสินแก้ปัญหาให้กับตนเองหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

วัตถุประสงค์ เพื่อใช้รูปแบบการแนะแนวสำหรับการแก้ปัญหาผู้เรียนให้เป็นคนดีของสังคม

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตารางที่ 1 การวิเคราะห์ความแปรปรวนวัดซ้ำของพฤติกรรมรับผิดชอบ พฤติกรรมการแก้ไขปัญหา อย่างสันติวิธี (พฤติกรรมการเป็นคนดี) ทั้งก่อนการฝึกอบรม ทันทีหลังการฝึกอบรม แหล่งความแปรปรวน SS df Mean Square F Sig.   ประเภทของการฝึก 97.90 3 32.60 17.02 0.00 ความคลาดเคลื่อน 22.25 116 19.20

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ (ต่อ) ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยของการฝึก วัด 1 เดือน ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ใน 4 กลุ่ม การทดลอง  ประเภทของกลุ่ม จำนวน (คน) ก่อนการฝึกฯ ทันทีหลังฝึกฯ 1 เดือนหลังฝึกฯ SD กลุ่ม 100% 30 40.15 2.37 44.73 2.38 47.52 2.32 กลุ่ม 50%(แบบ 1) 41.92 2.39 41.94 39.91 2.31 กลุ่ม 50%(แบบ 2) 42.57 2.44 42.74 1.45 40.22 2.36 กลุ่มควบคุม 40.71 1.52 40.72 2.52 40.33 1.42  

รูปแบบการแนะแนวสำหรับการแก้ปัญหาผู้เรียนให้เป็นคนดีของสังคม

สรุปผลการวิจัย พฤติกรรมความรับผิดชอบ พฤติกรรมการแก้ไขปัญหาอย่างสันติวิธี และพฤติกรรมรับผิดชอบและแก้ปัญหาในครอบครัวอย่างสันติวิธี พบว่า กลุ่มนักเรียน 3 กลุ่มได้แก่ 1) กลุ่มฝึกจิตลักษณะและทักษะ (100% สีแดง) 2) กลุ่มฝึกจิตลักษณะ (50%P สีเหลือง) และ 3) กลุ่มนักเรียนที่ไม่ได้รับการฝึกทั้งสองแบบ (กลุ่มควบคุม สีส้ม) เป็นกลุ่มที่มีคะแนนเฉลี่ยวัดทันทีหลังฝึกอบรมสูงกว่าคะแนนการวัดก่อนการฝึกอบรม

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) การวัด 1 เดือนหลังการฝึกอบรม พบว่า คะแนนสูงกว่าคะแนนการวัดก่อนฝึกอบรมในเช่นนี้ปรากฏใน 3 กลุ่ม เมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนวัดทันทีหลังฝึกอบรมและวัด 1 เดือน หลังการฝึกอบรม ปรากฏว่าคะแนนเฉลี่ยใน 1 กลุ่ม คือ กลุ่มฝึกจิตลักษณะ และทักษะ (100% สีแดง) มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้น และกลุ่มฝึกจิตลักษณะ (50%M สีฟ้า) มีคะแนนเฉลี่ยลดลงเพียงแต่ไม่มีนัยสำคัญ และกลุ่มฝึกทักษะ (50%P สีเหลือง) มีคะแนนเฉลี่ยลดลง (แต่เป็นที่น่าแปลกใจว่า กลุ่มควบคุมกลับมีแนวโน้มของคะแนนเฉลี่ยไม่แตกต่างมากนักจากก่อนการฝึก)

Thank & Question