วิธีสอนแบบอุปนัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
รูปแบบการสอน.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทักษะการคิดวิเคราะห์
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
บทบาทสมมติ (Role Playing)
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
 ผู้วิจัย นายชัช อุ่น บุญธรรม  สังกัด วิทยาลัย เทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิธีสอนแบบอุปนัย

วิธีสอนโดยใช้การอุปนัย             วิธีสอนโดยใช้การอุปนัย  หมายถึง  เป็นการสอนรายละเอียดปลีกย่อยไปหากฎเกณฑ์  หรือสอนจากตัวอย่างไปหากฎเกณฑ์  นั่นคือ  นักเรียนได้เรียนรู้ในรายละเอียดก่อนแล้วไปสรุป  ตัวอย่างของวิธีสอนนี้  ได้แก่  การให้โอกาสนักเรียนในการศึกษาค้นคว้าสังเกต  ทดลอง  เปรียบเทียบแล้วพิจารณาค้นหาองศ์ประกอบที่เหมือนกัน  หรือคล้ายคลึงกันจากตัวอย่างต่างๆเพื่อนำมาเป็นข้อสรุป

  1. ขั้นเตรียมนักเรียน  เป็นการเตรียมความรู้และแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน   2. ขั้นเสนอตัวอย่าง  ให้นักเรียนเปรียบเทียบและสรุปกฎเกณฑ์ตัวอย่างควรเสนอหลายตัวอย่าง 3. ขั้นหาองค์ประกอบรวม  เป็นการให้นักเรียนมีโอกาสพิจารณาความคล้ายคลึงกันขององค์ประกอบจาก    ตัวอย่างเพื่อเตรียมสรุปกฎเกณฑ์ 4. ขั้นสรุปข้อสังเกตต่างๆ เป็นการสรุปข้อสังเกตต่างๆจากตัวอย่างเป็นกฎเกณฑ์  นิยาม  หลักการ  ด้วยตัว  นักเรียน   5. ขั้นนำไปใช้  เป็นขั้นนำข้อสรุปหรือกฎเกณฑ์ที่ได้จากการทดลองหรือสิ่งที่เข้าใจไปใช้ในสถานการณ์จริง

วิธีสอนแบบอุปนัยมีข้อดีอย่างไร ?   1. นักเรียนสามารถเข้าใจในรายละเอียด  และหาข้อสรุปได้อย่างชัดเจนจด ชำนาน  2. นักเรียนได้รับการฝึกทักษะการคิดตามหลักการ  เหตุผล  และหลักวิทยาศาสตร์  3. นักเรียนเข้าใจวิธีการแก้ปัญหาและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

วิธีสอนแบบอุปนัยมีข้อสังเกตอย่างไร  1. ในการสอนแต่ละขั้น  ครูควรให้โอกาสนักเรียนคิดอย่างอิสระ  2. ครูควรสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ที่ไม่เป็นทางการเพื่อลดความเครียดและเบื่อหน่าย 3. วิธีสอนแบบอุปนัยจะให้ผลสัมฤทธิ์สูงถ้าครูสร้างความเข้าใจทุกขั้นตอนอย่างดีก่อนสอน

วิธีการสอนโดยใช้การอุปนัย (Induction) วิธีการสอนโดยใช้การอุปนัย  คือกระบวนการที่ผู้เรียนสรุปหลักการจากตัวอย่าง ด้วยตนเอง  ดังนี้ 1)มีวัตถุประสงค์ที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนฝึกการฝึกการคิดวิเคราะห์แล้วเกิดการเรียนด้วยตนเอง 2)องค์ประกอบสำคัญของวิธีสอน  ได้แก่  ตัวอย่างย่อย  การวิเคราะห์ตัวอย่าง  เพื่อหา หลักการ  และสรุปหลักการนำไปใช้ในสถานการณ์อื่น ๆ  3)ขั้นตอนสำคัญของการสอน  ได้แก่  การยกตัวอย่างหรือสถานการณ์  ให้ผู้เรียนศึกษา และวิเคราะห์  สรุปเป็นหลักการ  4)เทคนิคการใช้วิธีการสอนนี้ให้มีประสิทธิภาพ  ได้แก่  การเตรียมตัวอย่าง  ให้ผู้เรียน ศึกษาวิเคราะห์  แล้วสรุปและนำข้อสรุปไปใช้  5)วิธีสอนนี้มีทั้งข้อดีและข้อเสีย  กล่าวคือ  ข้อดี  เช่น  ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์  ค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง  และนำไปใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้เรื่องอื่น ๆ ได้ 

ข้อเสีย  ใช้เวลาสอนมาก   อาจเกิดปัญหากับผู้เรียนที่ขาดทักษะการคิดและการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ผู้เขียนนำเสนอลักษณะของครูคณิตศาสตร์ที่ดี  ได้แก่  1)ขยัน – เอาใจใส่ต่อการสอน  2)มีความรู้ในศาสตร์ที่สอน 3) กระตือรือร้นสอน  4)ใช้กลยุทธ์ให้เด็กคิดวิเคราะห์ 5) มีจิตวิทยาในการสอน 6) มีความสามารถเชื่อมโยงเรื่องต่างๆให้เข้ากับวิชา 7)สามารถบูรณาการความรู้ให้เข้ากับวิชา

ที่มา :  บันทึกนี้เขียนโดย นางสาว อุบล ยีสมัน เมื่อ 3 ปีที่แล้ว             http://www.l3nr.org/posts/444327