กรมธรรม์ประกันภัย Insurance Policy โดย ศ.ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
หลักการเกิดขึ้นของสัญญา (กฎหมายไทยและกฎหมายอังกฤษ) คำเสนอ สัญญา คำสนอง © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
MIA 1906 Section 21 (When contract is deemed to be concluded) A contract of marine insurance is deemed to be concluded when the proposal of the assured is accepted by the insurer, whether the policy be then issued or not; and for the purpose of showing when the proposal was accepted, reference may be made to the slip or covering note or other customary memorandum of the contract. © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ มาตรา 867 สัญญาประกันภัยนั้น ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิดหรือลายมือชื่อตัวแทนของฝ่ายนั้นเป็นสำคัญ จะฟ้องร้องบังคับคดีหาได้ไม่ ให้ส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยอันมีเนื้อความต้องตามสัญญานั้นแก่ผู้เอาประกันภัยฉบับหนึ่ง .. © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ กฎหมายไทย หลักฐานเป็นหนังสือ ... หนังสืออะไรก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นกรมธรรม์ประกันภัย © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ กฎหมายอังกฤษ หลักฐานเป็นหนังสือ ... หนังสือต้องเป็นกรมธรรม์ประกันภัยเท่านั้น © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
MIA 1906 Section 22 (Contract must be embodied in policy) Subject to the provisions of any statue, a contract of marine insurance is inadmissible in evidence unless it is embodied in a marine policy in accordance with this Act. The policy may be executed and issued either at the time when the contract is concluded, or afterwords. © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
ข้อดี ข้อเสีย ให้นักศึกษา วิจารณ์ ข้อดี ข้อเสีย ให้นักศึกษา วิจารณ์ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
รายละเอียดที่ต้องระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย กฎหมายไทย มาตรา 867 วรรคสาม กรมธรรม์ประกันภัย ต้องลงลายมือชื่อของผู้รับประกันภัยและมีรายการดังต่อไปนี้ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ 1. วัตถุที่เอาประกันภัย 2. ภัยใดซึ่งผู้รับประกันภัยรับเสี่ยง 3. ราคาแห่งมูลประกันภัย ถ้าหากได้กำหนดกันไว้ 4. จำนวนเงินซึ่งเอาประกันภัย 5. จำนวนเบี้ยประกันภัย และวิธีส่งเบี้ยประกันภัย 6. ถ้าหากสัญญาประกันภัยมีกำหนดเวลา ต้องลงเวลาเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดไว้ด้วย © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ 7. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับประกันภัย 8. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้เอาประกันภัย 9. ชื่อของผู้รับประโยชน์ ถ้าจะพึงมี 10. วันทำสัญญาประกันภัย 11. สถานที่และวันที่ได้ทำกรมธรรม์ประกันภัย © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ นอกจากนี้กรมธรรม์ประกันภัยในการรับขนนั้น มาตรา 884 ได้กำหนดเพิ่มเติมว่า อันกรมธรรม์ประกันภัยในการรับขนนั้น นอกจากที่ได้ระบุไว้แล้วในมาตรา 867 ต้องมีรายการเพิ่มขึ้นอีกดั่งจะกล่าวต่อไปนี้คือ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ 1. ระบุทางและวิธีขนส่ง 2. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้ขนส่ง 3. สถานที่ซึ่งกำหนดให้รับและส่งมอบของ 4. กำหนดระยะเวลาขนส่งตามแต่มี © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ ตามกฎหมายอังกฤษ MIA 1906 Section 23, 24(1), 26(1) กำหนดรายการในกรมธรรม์ ดังนี้ 1. ชื่อผู้เอาประกันภัยหรือตัวแทนในการเอาประกันภัยของเขา 2. ต้องลงลายมือชื่อของผู้รับประกันภัยหรือตัวแทนของเขา 3. วัตถุที่เอาประกันภัย © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
กฎหมายไทย VS กฎหมายอังกฤษ ให้นักศึกษาวิจารณ์ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
ร่างพระราชบัญญัติการประกันภัยทางทะเล .. ไปอีกทางหนึ่ง โปรดดูมาตรา33-35 © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ การตีความกรมธรรม์ประกันภัย Rule for construction of policy Section 30 (2) © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
กฎหมายไทย ตามป.พ.พ. ไม่มี © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ การโอนกรมธรรม์ประกันภัย MIA 1906 Section 50 โดยหลักแล้วสามารถโอนกรมธรรม์ประกันภัยได้ เว้นแต่ระบุห้ามโอนไว้ และจะโอนก่อนหรือหลังเกิดวินาศภัยก็ได้ ทั้งนี้โดยไม่จำเป็นต้องได้รับความยินยอมจากผู้รับประกันภัย – เพื่อประโยชน์ในการค้าระหว่างประเทศ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
วิธีการโอน –สลักหลังหรือวิธีการอื่นตามธรรมเนียมปฏิบัติ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ ตามกฎหมายไทย มาตรา 875 การโอนกรรมธรรม์ เมื่อผู้เอาประกันภัยโอนวัตถุที่เอาประกันภัยและมีการบอกกล่าวการโอนไปยังผู้รับประกันภัย ก็จะมีผลเป็นการโอนกรมธรรม์ไปให้แก่ผู้รับโอนด้วย (ปัญหา บอกกล่าวก่อนหรือหลังเกิดวินาศภัย ?) © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
กฎหมายไทย VS กฎหมายอังกฤษ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
ร่างพระราชบัญญัติการประกันภัยทางทะเล พ.ศ. .. ไปทางไหน © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์