การสร้างสื่อ e-Learning

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
การศึกษารายกรณี.
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
แผนการจัดการเรียนรู้
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
การสร้างสื่อมัลติมีเดีย
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE MODAL
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
- ส่วนใหญ่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้าน สามารถต่ออินเตอร์เน็ตได้
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักการพัฒนา หลักสูตร
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เกอร์ลาชและอีไล(Gerlach and Ely)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
ความรู้เบื้องต้น การออกแบบ Media.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
หน่วยที่ 3 สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) กิจกรรมที่2 การผลิต การใช้ การประเมินผล สื่อ ICT.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
รูปแบบการสอน.
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
หลักการแก้ปัญหา.
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
ADDIE Model.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
 วัตถุประสงค์ของบทเรียน นับว่าเป็นส่วนสำคัญยิ่ง ต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความ คาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน นอกจากผู้เรียนจะ ทราบถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของตนเองหลังจบ.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ทฤษฎีการเรียนรู้ กับการพัฒนานวัตกรรม
การเขียนรายงานผลการวิจัย
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
หลักการออกแบบของ ADDIE model
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างสื่อ e-Learning

ขั้นตอนใช้หลัก Addie Mode ในการกร้างสื่อ e-Learning มีขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis) 2. ขั้นการออกแบบ (Design) 3. ขั้นการพัฒนา (Development) 4. ขั้นการนำไปใช้ (Implementation) 5. ขั้นการประเมินผล (Evaluation) ซึ่งมีหลักในการสร้างสื่อ e-Learning ดังต่อไปนี้

1. ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis) ศึกษาหลักสูตรและผู้เรียน เพื่อให้ทราบถึงรายละเอียดของสาระใน รายวิชาที่กำหนดในหลักสูตรว่า  เนื้อหาทั้งหมดเป็นอย่างไร  ระดับใด ควรใช้เวลาใน การสอนเท่าไร  ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานเพียงใดความพร้อมของผู้เรียนเป็นอย่างไร นอกจากนี้อาจต้องศึกษาประสบการณ์การสอนวิชานั้นๆ ของตนเอง หรือผู้สอนคนอื่นๆ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการวางแผนการสอนต่อไป

2. ขั้นการออกแบบ (Design ) จัดซอยเนื้อหาเป็นส่วนย่อย  เนื่องจากการสอนทางคอมพิวเตอร์จะเป็นการสอนที่ปราศจากครู  อาจารย์  การเสนอเนื้อหาครั้งละมากๆ อาจมีปัญหาในการเรียน การสอนได้  ดังนั้นจึงจำเป็นต้องซอยเนื้อหาออกเป็นหน่วยย่อยที่มีความสมบูรณ์ในแต่ละหน่วยย่อยพอสมควร และผู้เรียนสามารถจะติดตามเนื้อเรื่องต่อไปได้ โดยไม่สับสนหรือขาดตอนการสร้างข้อความในแต่ละกรอบตามเนื้อหาที่กำหนด  ข้อความเหล่านี้ จะต้องกระทัดรัด  เป็นประโยคที่ง่ายต่อความเข้าใจของผู้เรียน ข้อความในกรอบต่างๆ ต้องสอดคล้องกับหน้าที่ของแต่ละกรอบด้วย  โดยทั่วไปในแต่ละหน่วยย่อยของเนื้อหาจะประกอบด้วยกรอบข้อความต่างๆ

3. ขั้นการพัฒนา (Development) การสร้างข้อความในแต่ละกรอบตามเนื้อหาที่กำหนด  ข้อความเหล่านี้ จะต้องกระทัดรัด  เป็นประโยคที่ง่ายต่อความเข้าใจของผู้เรียน ข้อความในกรอบต่างๆ ต้องสอดคล้องกับหน้าที่ของแต่ละกรอบด้วย  โดยทั่วไปในแต่ละหน่วยย่อยของเนื้อหาจะประกอบด้วยกรอบข้อความต่างๆและเข้ารหัสตามโปรแกรมที่กำหนดโครงสร้างโปรแกรมที่สร้างขึ้นจำเป็นต้องแปลข้อมูลเป็นรหัสถ้าเป็นโปรแกรมแบบ Authoring ซึ่ง เป็นโปรแกรมแบบง่าย ๆ ก็อาจสร้างบทเรียนโดยไม่ต้องเข้ารหัส  ขั้นตอนนี้ จึงจัดว่าเป็นขั้นตอนเตรียมป้อนบทเรียนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ในการป้อนบทเรียนเข้าเครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นจะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของโปรแกรมนั้นๆ  

4. ขั้นการนำไปใช้ (Implementation) ทดสอบบทเรียนกับผู้เรียนเป้าหมาย เพื่อตรวจดูว่าเป็นไปตามเป้าหมาย หรือไม่ เพียงใด  ถ้าจำเป็นต้องปรับปรุงก็ควรแก้ไขก่อนนำไปใช้จริงติดตามผลการเรียนของผู้เรียนเป้าหมายนี้ เป็นปัจจัยที่จำเป็นมาก เมื่อการเรียนโดยบทเรียนทางคอมพิวเตอร์ให้ผลการเรียนจากกลุ่มเป้าหมายต่างๆ เป็นไป ตามที่คาดหวังไว้อย่างไร  มีจุดอ่อนหรือข้อบกพร่อง หรือประเด็นที่ควรแก้ไขอย่างไร ควรติดตามรวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการพัฒนาบทเรียนทางคอมพิวเตอร์นี้ให้ดีขึ้นต่อไป

5. ขั้นการประเมินผล (Evaluation) ประเมินว่าหลังจากนักเรียนใช้โปรแกรมนี้แล้ว บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ การประเมินส่วนนี้กระทำโดยผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนเพื่อวัดความก้าวหน้าของผู้เรียน  วัดความเข้าใจในเนื้อหาประเมินในส่วนโปรแกรมและการทำงานว่าการใช้ โปรแกรมกับเนื้อหาวิชาเหมาะสมหรือไม่ ทัศนคติของผู้เรียนต่อการใช้โปรแกรมเป็นอย่างไร  วิธีการใช้โปรแกรมยากง่ายอย่างไร วิธีการเสนอบทเรียน ความถูกต้องของ เนื้อหาและการติดต่อกับผู้เรียนเป็นอย่างไร การประเมินผลส่วนนี้จะใช้แบบสอบถาม

จบการนำเสนอ

นางสาว สิริพัตรา โตประพันธ์ จัดทำโดย นางสาว สิริพัตรา โตประพันธ์ รหัสนักศึกษา 541121102 โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์