บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
Advertisements

Supply-side Effects of Fiscal Policy.
บทที่ 4 รายได้ประชาชาติ National Income.
การคลังและนโยบาย การคลัง
รหัส หลักการตลาด.
เศรษฐศาสตร์มหภาค EC 312 บทนำ: Introduction
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
“e-Revenue” “ภาษี”เรื่องง่าย ๆ.
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
MK201 Principles of Marketing
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
การบริโภค การออม และการลงทุน
รายได้ประชาชาติ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
บทที่ 4 งบการเงิน.
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ระบบบัญชี.
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
สหกรณ์การเกษตรชุมพวง จำกัด
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
LOGO. ส่วนประกอบของบัญชี รายได้ประชาชาติ NI Y = GDP GNPNNPNIGDPGNPNNPNI.
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวทางการวิเคราะห์สำหรับภาษีอากร
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
การคำนวณภาษีสรรพสามิต
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
การวัดการวิจัยในการตลาด
บทที่1 การบริหารการผลิต
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ

รายได้ประชาชาติ แนวคิดเรื่องรายได้ประชาชาติเริ่มมีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 แต่ในช่วงนั้นไม่มีการจัดระบบที่แน่นอนจนกึ่งศตวรรษที่ 19 จึงมีการค้นคว้าวิธีอย่างจริงจัง รายได้ประชาชาตินำมาใช้ครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ. 1942 หลังจากรัฐบาลของหลายประเทศก็นำเอาบัญชีรายได้ประชาชาติมาใช้ ประเทศไทย เริ่มทำปี 2493 แต่ในการทำระยะแรก ค่อนข้างจำกัดเนื่องจากข้อมูลสถิติเบื้องต้นของประเทศไทยยังไม่สมบูรณ์ แต่ต่อมาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ปรับปรุงให้ระบบสมบูรณ์ในปี 2510 เป็นต้นมา

กระแสหมุนเวียนของเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ 2 หน่วย คือ หน่วยครัวเรือน หน่วยธุรกิจ ระบบเศรษฐกิจ 3 หน่วย คือ หน่วยครัวเรือน หน่วยธุรกิจ รัฐบาล ระบบเศรษฐกิจ4 หน่วย คือ หน่วยครัวเรือน หน่วยธุรกิจ รัฐบาลและ ภาคต่างประเทศ ส่วนรั่วไหล หมายถึง ส่วนที่รั่วไหลออกนอกกระแสการหมุนเวียน (S, T, M) ส่วนอัดฉีด หมายถึง รายได้ส่วนที่รับเข้ามาในกระแสการหมุนเวียน (I, G, X)

การคำนวณรายได้ประชาชาติ จากกระแสการหมุนเวียนของการใช้จ่ายและการผลิต ทำให้ทราบว่ามูลค่าผลผลิตทั้งหมดที่ระบบเศรษฐกิจผลิตขึ้นได้ มีค่าเท่ากับ รายได้รวมของภาคครัวเรือน แสดงว่าการคำนวณรายได้ประชาชาติมี 3 วิธีจากธุรกรรมทางเศรษฐกิจชุดเดียวกัน 1. ด้านผลผลิต (Product Approach) 2. ด้านรายจ่าย (Expenditure Approach) 3. ด้านรายได้ (Income Approach) ด้านผลผลิต หาผลรวมมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นทุดท้ายที่ประเทศผลิตได้ ในระยะเวลา 1 ปี คิดเฉพาะมูลค่าสินค้าขั้นสุดท้าย และคิดแบบมูลค่าเพิ่ม ด้านรายจ่าย C + G + I + X – M

การคำนวณรายได้ประชาชาติ 3. ด้านรายได้รวมรายได้จากผลตอบแทนการใช้ปัจจัยการผลิต คือ ค่าจ้าง ดอกเบี้ย กำไร ค่าเสื่อม กำไรของ บริษัท ก่อนหักภาษี และภาษีทางอ้อม GDP คือ มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ที่ผลิตขึ้นได้ภายในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นชนชาติใด GNP คือ มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ที่ผลิตขึ้นด้วยปัจจัยการผลิต โดยพลเมืองของประเทศนั้น GNP(gross national product) = GDP + รายได้สุทธิต่างประเทศ NDP (net domestic product)คือ ผลิตภัณฑ์รวมประชาชาติในประเทศ (GDP) หักด้วยค่าเสื่อมราคา หรือ NDP = GDP – ค่าเสื่อม

การคำนวณรายได้ประชาชาติ NNP (net national product) คือ ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) หัก ด้วยค่าเสื่อมราคา (NNP = GNP – ค่าเสื่อม) NI (National Income) คือ รายได้ที่เกิดขึ้นจริงจากการผลิต NI = NNP – ภาษีทางอ้อมธุรกิจ PI (personel income)คือ รายได้ส่วนบุคคลทั้งหมดก่อนการหักภาษี แตกต่าง จากรายได้ประชาชาติ (NI) คือรายได้ประชาชาติทั้งหมดไม่จำเป็นต้องเป็น รายได้ส่วนบุคคล เพราะแม้รายได้เกิดขึ้น แต่หน่วยผลิตไม่จ่ายให้ครัวเรือนก็ ไม่ถือเป็นรายได้ส่วนบุคคล เช่น ประกันสังคม เงินกำไรที่ยังไม่ได้นำมา จัดสรร ทั้งนี้ PI ยังรวมเงินได้ที่ได้รับมา เช่น เงินโอน

การคำนวณรายได้ประชาชาติ PI = รายได้ประชาชาติ – (ประกันสังคม + กำไรที่ยังไม่ได้จัดสรร+ ภาษีรายได้บริษัท) + เงินโอน + ดอกเบี้ยที่เอกชนได้รับจากรัฐบาล DI ( dispossabel income)คือ รายได้ที่แสดงถึงอำนาจซื้อ DI = PI –ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา PER Capita Income = รายได้ประชาชาติ / ประชากร REAL GDP =

ประโยชน์ของรายได้ประชาชาติ ทำให้ทราบมูลค่าผลผลิตของประเทศในช่วงเวลาหนึ่ง ทำให้ทราบระดับการใช้จ่ายรวมและรายได้รวมทางระบบเศรษฐกิจ เพื่อทราบฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศ ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจุบันควรจะดูเรื่อง GDH (gross domestic happyness) ประกอบกับGDP เพราะเงินรายได้ไม่ใช่ความสุขแท้จริง การหารายได้ระชาชาติไม่ได้มองเรื่องสิ่งแวดล้อม คุณค่าของชีวิตฯลฯ งบประมาณของรัฐเทียบกับ GDP: งบสวัสดิการสังคม 2%ของ GDP (สวีเดน 31% ญี่ปุ่น 14.7% เกาหลี 5.9%)เก็บภาษีได้ 17% GDP มีรายจ่าย 25.2%GDP (ข้อมูลกุมภาพันธ์ 2553)