ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
สวัสดีครับ. สวัสดีครับ รายวิชา ง40204 คอมพิวเตอร์เสริม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6.
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
ความหมายของการวางแผน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงาน
มองไม่เห็นก็เรียนได้
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
Information Technology Code (21241) Teacher name Ms pimpon petin
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หน่วยการเรียนรู้ คืออะไร
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
งานธุรการ.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Knowledge Management (KM)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
คอมพิวเตอร์สำหรับ นักศึกษาบัณฑิต (Computer for Graduate Students)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มาตรฐานวิชาชีพครู.
การรายงานและการประเมิน ด้านที่ ๓
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
อาจารย์ ดร.ฐิติพร ชมภูคำ กรรมการและเลขานุการหลักสูตร MBA
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
ฐานข้อมูล Data Base.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
Evaluation of Thailand Master Plan
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
ADDIE Model.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถ นำไปประยุกต์ในด้านต่างๆ เสนอโดย ด. ช. ปพนธีร์ สิทธิคณากูล ม.1/6 เลขที่ 12 ด. ช. ศุภกร พูลโภคะ ม.1/6 เลขที่ 11 ด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม และ Davenport and Prusak (1998) กล่าวว่า ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมของกรอบประสบการณ์ คุณค่า สารสนเทศ ที่เป็นสภาพแวดล้อมและกรอบการ ทำงาน สำหรับการประเมินและรวมกันของ ประสบการณ์และสารสนเทศใหม่ Srinivas กล่าวถึง ช่องว่างของความรู้ (Knowledge) เป็นช่องว่างของ ความรู้ที่แสดงให้เห็นว่า “ ตนเองไม่มีความรู้ ” เป็น หนทางหนึ่งขององค์การในการพัฒนาบุคคล โดยใช้ กระบวนการของการจัดการความรู้เพื่อลดช่องว่าง และเติมเต็มความรู้ให้แก่บุคลากรเหล่านั้น

ข้อมูล (Date) หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการ ทำงานประจำวัน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลในระบบปฏิบัติการ และเมื่อข้อมูลดิบเหล่านั้นได้ผ่านกระบวนการประมวลผล เช่น การจัดกลุ่มของข้อมูลขึ้นเป็นรายงาน หรือการ คัดเลือกข้อมูลที่ไม่จำเป็นออกจากระบบเหล่านี้เป็นต้น ดังนั้น การกำหนดคุณค่าจึงขึ้นอยู่กับ “ ความตรงต่อความ ต้องการในการใช้งาน ” ส่วน ความรู้ (Knowledge) เป็น กระบวนการของการขัดเกลา เลือกใช้และบูรณาการ หากเมื่อความรู้เหล่านั้นได้ถูกถ่ายทอดออกมาในรูปของ การเขียนที่เป็นลายลักษณ์อักษร ความรู้นั้นก็จะ กลายเป็นความรู้ที่ปรากฏชัดเจน (explicit knowledge) ความรู้ดังกล่าวจะมีคุณค่าเมื่อนำมาใช้ในกระบวนการ ตัดสินใจ (decision making) สารสนเทศเดิมที่เคยไร้ คุณค่าสำหรับคนอีกกลุ่มก็ได้ ในทางกลับกัน สารสนเทศ เดิมที่เคยไร้คุณค่า

เป้าหมายของการจัดความรู้คือ การใช้ประโยชน์จากความรู้ มาเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินการขององค์การ และวัตถุประสงค์ของการจดความรู้ มีดังนี้ ๑. เพื่อปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานทางธุรกิจที่เป็นอยู่ใน ปัจจุบัน ๒. เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ ๓. เพื่อปรับปรุงเทคนิค กระบวนการ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ พัฒนาองค์ความรู้และนำความรู้นั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์

ประโยชน์ของการจัดความรู้ได้ ๘ ประการ ดังนี้ ๑. ป้องกันความรู้สูญหาย ๒. เพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจ ๓. ความสามารถในการปรับตัวและมีความยืดหยุ่น ๔. ความได้เปรียบในการแข่งขัน ๕. การพัฒนาทรัพย์สิน ๖. การยกระดับผลิตภัณฑ์ ๗. การบริการลูกค้า ๘. การลงทุนทางทรัพยากรมนุษย์

ระบบ E-LEANING ความหมายของ e-Leaning e-Learning (Electronic learning) คือการ เรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือการใช้เทคโนโลยี เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ โดยมีการพัฒนาตลอดเวลา ตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเข้ามาส่งเสริมการ เรียน การสอน ให้เกิดประสิทธิผล electronic หรือ internet เป็นสื่อ คำที่มีความหมายใกล้เคียง เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI = Computer Assisted Instruction) หรือ การสอนบนเว็บ (Web=Web based Instruction)

องค์ประกอบของ E-LEARNING องค์ประกอบของ e-learning ๑. ระบบจัดการศึกษา (Management Education System) ๒. เนื้อหารายวิชา เป็นบท และเป็น ขั้นตอน (Contents) ๓. สามารถสื่อสารระหว่างผู้เรียน และ ผู้สอน หรือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน (Communication) ๔. วัดผลการเรียน (Evaluation)

รูปแบบการพัฒนา E-LEARNING ในประเทศ ไทย สามารถแบ่งได้ ๓ ลักษณะ คือ ๑. รูปแบบเอกสารเว็บ คือการสร้างเว็บไซต์ที่นำเสนอ เนื้อหาวิชาต่างๆ และความรู้จากระบบการเรียนการสอน ๒. รูปแบบ LMS คือการออกแบบที่ใช้ความสามารถของ ซอฟต์แวร์บริหารจัดการการเรียนการสอน ๓. รูปแบบอิงมาตรฐานทั้งระบบและเนื้อหา คือการเรียนการ สอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ และผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ สร้างสรรค์ความรู้ด้วย Module สำเร็จรูปพร้อมใช้งาน