กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ปัญหาของการจัดการน้ำคือ อะไร เพราะเหตุใด ประชาชนจะร่วมกันจัดการ น้ำได้อย่างไร ใครบ้างที่ควรเข้ามาร่วม คำถาม.
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
กลุ่มที่ 6 วัดเขาทุเรียน ( วัดสีชมพู ) สุดยอดส้วม ระดับประเทศปี 2552 ประเภท ศาสนสถาน.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กลุ่มที่ 11.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12

สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว ข้อดี สร้างทางเลือกในการทำงานให้กับ ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่

ปัญหาที่พบ การสื่อสารกระบวนการนิเทศยังไม่ ชัดเจน ( ข้อมูลไม่นิ่ง ) ขาดการ feed back การนิเทศติดตาม งาน ขาดรายละเอียด รอบที่ 1 ควรนิเทศกระบวนการก่อน รอบที่ 2 ดูความก้าวหน้า แผนประเมิน 22 ข้อ ไม่มีนิยามที่ ชัดเจน พื้นที่ต้องตีตวาม เช่น การใช้บ้านเป็นที่ทำงาน ( บ้านใคร ผู้ป่วย เอง หรือ บ้านเจ้าหน้าที่ ) ทำให้เกิดความ เข้าใจคลาดเคลื่อน

ข้อเสนอแนะ ผู้รับนิเทศ ควรสรุปข้อมูลพื้นฐานให้ผู้นิเทศ ทราบ ก่อนผู้นิเทศลงพื้นที่จริง ใน ระดับภาพ CUP เช่น profile ของ รพ. สต. ที่ชัดเจน

ข้อเสนอแนะ ผู้นิเทศ ศึกษา Profile ของ รพ. สต. จัดทำคู่มือนิยาม โดยเจ้าหน้าที่ที่ เกี่ยวข้องทุกระดับ เน้นการสื่อสาร ในทุกระดับ เพื่อความ ชัดเจน พัฒนาศักยภาพผู้นิเทศ นิเทศไขว้จังหวัด โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญ ในแต่ละจังหวัดและส่วนกลาง

ข้อมูลการประเมิน ที่ Feed back กลับมายังพื้นที่ ต้องมีรายละเอียด ชัดเจน สร้างคุณค่าของผู้นิเทศงาน เช่น การ Empowerment พื้นที่ เพื่อ เสริมพลัง และการผลักดันให้เกิด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ ( ต่อ )

2. การจัดการงบประมาณให้ รพ. สต. ที่เป็นธรรม โปร่งใส มี ประสิทธิภาพ มีการจัดสรรงบประมาณ ในการ ทำแผนพัฒนา รพ. สต. ในปี ,000 บาท

ปัญหา ความเข้าใจต่อ การดำเนินงานยัง ไม่ชัดเจน ล่าช้า เปลี่ยนเงื่อนไข บ่อยครั้ง พื้นที่สับสนในการให้ข้อมูล เนื่องจากหน่วยงานส่วนกลาง ผู้ ประสานงานมีหลายหน่วย การสื่อสารไม่ชัดเจน “ งบดำเนินการ ” นำไปใช้อย่างไร บ้าง

ข้อเสนอแนะ มีการจัดสรรงบประมาณอย่างต่อเนื่อง โดย จัดสรรงบประมาณให้จังหวัดบริหารจัดการ เอง ( ไม่ต้องกำหนดรายการ ) กำหนดเพียง หมวดการใช้จ่าย เช่น หมวดครุภัณฑ์ มีหน่วยประสานงาน แบบ One Stop Service ในทุกระดับ มี คกก. บริหารจัดการ รพ. สต. จากทุกภาค ส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาค ประชาชน เพื่อความโปร่งใส และเป็นธรรม ตรวจสอบได้ ส่วนกลาง ควรมีปฏิทินในการทำงานที่ ชัดเจน เพื่อให้พื้นที่สามารถบริหารจัดการ เวลาในการปฏิบัติงาน ได้อย่างมคี ประสิทธิภาพ

3. การระดมทรัพยากร การทำงาน ร่วมกับภาคีเครือข่าย วิธีการ มีการตั้ง คกก. รพ. สต. ระดับตำบล จากทุกภาคส่วน มีการประชาสัมพันธ์ รพ. สต. ให้ ประชาชน ทราบ ผ่านทางสื่อท้องถิ่น ใช้ Evidence Base ในการเสนอขอ งบประมาณ จัดทำแผนให้สอดคล้องกับ งบประมาณของท้องถิ่น

ใช้กลไกความสัมพันธ์ เปรียบเสมือนญาติ เทคนิค 3 ก 1) กองทุน 2) กรรมการ 3) กำลังคน ( อสม./ จิตอาสา ) มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับอำเภอ / จังหวัด / เขต

ข้อเสนอแนะ มีแผนพัฒนา รพ. สต. ที่ชัดเจน เพื่อ ใช้เป็นเครื่องมือในการประสานการ ทำงานกับหน่วยงานอื่น มีผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจนในทุก ระดับท้องถิ่น การสร้างความเข้าใจเกียวกับการ ดำเนินงาน รพ. สต. กับทุกภาคี เครือข่าย โดยใช้ SRM เป็น เครื่องมือ

4. การควบคุมโรคและการ จัดการสิ่งแวดล้อม สิ่งคุกคามสุขภาพคนในชุมชน ( โรคติดต่อ ยาเสพติด อุบัติเหตุ น้ำเสีย ขยะ วัยรุ่น ฯลฯ ) วิธีการ สร้างการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น พื้นที่มีการรายงานสถานการณ์สุขภาพให้ ประชาชนทราบโดยทั่วถึง ใช้ SRM เป็นเครื่องมือในการประสานความ ร่วมมือในทุกๆด้าน การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน / อปท.

ข้อเสนอแนะ ส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการกำหนด นโยบายสาธารณะ ( สมัชชา สุขภาพ ) ท้องถิ่น ออกข้อบังคับในการจัดการ สิ่งแวดล้อม