การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการบันทึกข้อมูลเวชระเบียน การให้บริการสุขภาพช่องปาก
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
นายแพทย์สมยศ เจริญศักดิ์
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
กลุ่มพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข งบประมาณ ปี การส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน โครงการจัดทำชุดความรู้ประสบการณืการจัด กิจกรรมของครู โครงการจัดการความรู้
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.เลย
การลง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใน Hosxp_pcu
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
ผลการดำเนินงานตามแนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา จังหวัดปราจีนบุรี ตุลาคม 2556 – มิถุนายน 2557 พญ. นิภาภรณ์ มณีรัตน์
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การพัฒนาสาขาสุขภาพช่องปาก เขตบริการสุขภาพที่ 11
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
ประกาศสัปดาห์คัดกรองผู้สูงอายุ
ภาพรวม Six Plus Building Block
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา

ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข (4 ก. พ.2557)  ผลงาน QOF ทันตกรรม 2 เรื่อง  งานบริการทันตกรรมที่ผู้ตรวจ ราชการให้ความสำคัญ.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
กลุ่มเด็กวัยเรียน ( 5 – 14 ปี )
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
ความต้องการ สนับสนุน เพื่อการพัฒนาสาขา สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 1 วันที่ 28 กันยายน 2557.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ข้อมูลและรายงานทันตสาธารณสุข2558
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
กลุ่ม 4 อนามัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
LOGO. เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58 ด้านทันตกรรม กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ90 icd10tm=2330011 2.เด็กต่ำกว่า3ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ80 icd10tm=2330011 3.เด็กต่ำกว่า3ปี ได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันไม่น้อยกว่าร้อยละ80 icd10tm= 2338610(สอนวิธีทำความสะอาดฟันและช่องปาก) 4.เด็กต่ำกว่า3ปี ได้รับฟลูออไรด์ไม่น้อยกว่าร้อยละ50 icd10tm= 2377020 ,2377021

กลุ่มเด็กประถมศึกษา 1.เด็กป.1ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ90 icd10tm =2330011 2.เด็กชั้นป.1ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันไม่น้อยกว่าร้อยละ50 icd10tm= 2387030 3.เด็กป.1-6(อายุ6-12ปี)ได้รับบริการทันตกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ20 icd10tm รักษาทุกรายการยกเว้น การตรวจ และให้สุขศึกษา 2330010,2330011,2338610 กลุ่มเป้าหมาย คือเด็กนักเรียนที่ลงทะเบียนในบัญชี5

กลุ่มประชาชน ผู้สูงอายุ60ปีขึ้นไป 1.ประชาชนทั่วไปได้รับบริการทันตกรรม(คน)ไม่น้อยกว่าร้อยละ20 2. ประชาชนทั่วไปได้รับบริการทันตกรรม(ครั้ง)ไม่น้อยกว่าร้อยละ20 ผู้สูงอายุ60ปีขึ้นไป 1.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ50 2.ผู้สูงอายุที่มีภาวะการเกิดโรคเบาหวานและความดันได้รับการคัดกรองสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ50

1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ90 icd10tm=2330011

ลงบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนทุกรายการ

บันทึกข้อมูลdental care เพื่อส่งออกแฟ้มdental

กรณีตรวจที่โรงพยาบาลให้นำข้อมูลมาบันทึกที่บัญชี2

2.เด็กต่ำกว่า3ปี เป็นกิจกรรมส่งเสริมป้องกันทางทันตกรรม

-การตรวจและการประเมินสภาพช่องปากทั้งปาก และวางแผนการรักษา -การเคลือบฟันด้วยฟลูออไรด์ในเด็ก -สอนวิธีทำความสะอาดฟันและช่องปาก

วิธีตรวจสอบรหัสหัตถการที่บันทึกให้ตรงกับkpi

กระบวนการบันทึกทำเช่นเดียวกันกับการบันทึกในเด็กต่ำกว่า3ปี

ตัวอย่างหัตถการกรณีให้บริการรักษาทางทันตกรรม

4.กลุ่มประชาชน เป็นกิจกรรมส่งเสริมป้องกันและรักษาทางทันตกรรม วิธีการบันทึกข้อมูลการให้บริการทันตกรรมในOnestop service หัตถการทันตกรรมเลือกตามรายการของกิจกรรมที่ดำเนินงาน

5.ผู้สูงอายุ60ปีขึ้นไป กลุ่มเป้าหมายคือผู้สูงอายุที่มีรายชื่อในระบบบัญชี1 ประเภทtype area = 1,3

บันทึกผลการตรวจฟันที่เมนู ทันตกรรม >>ตรวจสุขภาพฟัน

กลุ่มเป้าหมายคือผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวเบาหวาน และความดัน ผู้สูงอายุที่มีภาวการณ์เกิดโรคเบาหวานและความดันได้รับการคัดกรอง สุขภาพช่องปาก กลุ่มเป้าหมายคือผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวเบาหวาน และความดัน รายชื่ออยู่ในทะเบียนคลินิกพิเศษเบาหวาน/ความดันสถานะยังรักษาอยู่ ส่งต่อ บันทึกข้อมูลทำเช่นเดียวกับผู้สูงอายุทั่วไป แต่ในช่องวินิจฉัยต้องเพิ่มรหัสโรคเรื้อรังด้วย

รพ.สต.ให้บริการสุขภาพช่องปากคุณภาพ 200ครั้ง /1,000ประชากร รพ.สต.ให้บริการสุขภาพช่องปากคุณภาพ 200ครั้ง /1,000ประชากร รพสต.ที่ไม่มีเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข(ทันตาภิบาล)ประจำ แต่ให้บริการโดยการหมุนเวียนเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลหรือรพสต.ในอำเภอเดียวกันออกให้บริการ จะต้องดำเนินการเพิ่มชื่อเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข(ทันตาภิบาล)ผู้ให้บริการที่โปรแกรมHOSXP_PCU

การตรวจสอบผลงานตัวชี้วัดด้านทันตกรรมปี2558 http://122.154.131.240/pcu_audit/index.php

ผู้สูงอายุสามารถดูรายงานได้ที่เมนู รายงานของขวัญผู้สูงอายุปี2558

ขอบคุณครับ