สถานะของกฎหมายประกันภัยทางทะเล และบทบาทของ Marine Insurance Act 1906 © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ กฎหมายประกันภัยทางทะเลของประเทศอังกฤษ : The Marine Insurance Act 1906 (พระราชบัญญัติการประกันภัยทางทะเล ค.ศ. 1906) - กฎหมายภายใน/ไม่ใช่อนุสัญญาระหว่างประเทศ - Codifying Case Law - เป็นไปตามความต้องการของพ่อค้า ไม่ใช่นักกฎหมาย © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
Case Law VS Codifying Law Common Law VS Civil Law © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ กฎหมายประกันภัยทางทะเลของประเทศอังกฤษ : The Marine Insurance Act 1906 ประกอบด้วย 3 ส่วน 1. บทมาตราต่าง ๆ (มาตรา 1-94) 2. ตารางแนบท้ายพระราชบัญญัติ 1 (Schedule 1) - ตอนต้น คือตัวอย่างกรมธรรม์ประกันภัยที่เรียกว่า Lloyd’s S & G Policy - ตอนท้าย คือกฎหรือหลักในการตีความกรมธรรม์ประกันภัย (Rules for Construction of Policy) 3. ตารางแนบท้ายพระราชบัญญัติ 2 (Schedule 2) คือรายชื่อพระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่ถูกยกเลิกไปโดย The Marine Insurance Act 1906 © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
Rules for Construction of Policy กฎในการตีความ 17 ข้อ - สินค้า (Goods) หมายถึง สินค้าโดยไม่รวมถึงข้าวของส่วนบุคคลและเสบียงหรือสัมภาระที่เอาไว้ใช้บนเรือ และไม่รวมถึงสินค้าบนดาดฟ้าเรือ (Deck Cargo) - ภัยแห่งท้องทะเล (Perils of the seas) หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญและที่มิใช่การกระทำตามธรรมดาของคลื่นและลม © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
สถานะของ MIA 1906 : a de facto international marine insurance law © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ บทบาทของ MIA 1906 ต่อประเทศต่าง ๆ -สหรัฐอเมริกา -ออสเตรเลีย -สิงค์โปร์ -ฯลฯ © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
บทบาทของ MIA 1906 ต่อประเทศไทย - ด้านธุรกิจประกันภัยทางทะเล - สัญญามาตรฐาน (MAR Form) และข้อสัญญาแนบท้ายต่าง ๆ (Institute Clauses) - ข้อตกลงให้ใช้กฎหมาย (English Law and practice) © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
บทบาทของ MIA 1906 ต่อประเทศไทย -ด้านศาล -MIA 1906 : หลักกฎหมายทั่วไป ตามมาตรา 4 ป.พ.พ. © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
บทบาทของ MIA 1906 ต่อประเทศไทย -ด้านนิติบัญญัติ - ร่างกฎหมายประกันภัยทางทะเล เหมือนกับ MIA 1906 © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
องค์กรและสถาบันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัยทางทะเล - Lloyd’s of London - Institute of London Underwriters - Mutual Insurance Associations © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ Lloyd’s of London Lloyd’s of London หรือสถาบันลอย์แห่งลอนดอน คือตลาดประกันภัยชั้นนำของโลก ที่ตัวสถาบันมิได้ทำหน้าที่รับประกันภัย ผู้รับประกันภัยคือ สมาชิกของสถาบันลอยด์ ที่เรียกว่า Name © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ Lloyd’s of London ความเป็นมา - มาจากการนิยมดื่มกาแฟที่แพร่หลายอย่างมากในขณะนั้นและรวมตัวกันดื่มกาแฟที่ร้านกาแฟ Lloyd’s Coffee House © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ Lloyd’s of London สาเหตุของการพัฒนาและเจริญเติบโต - พ่อค้ามารวมกัน เป็นโอกาส/บริษัทรับประกันภัยทางทะเลที่ได้รับการผูกขาด ล้มเหลว © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
© ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์ Lloyd’s of London วิธีการประกันภัย - ต้องกระทำผ่านนายหน้า (Broker) -ผู้รับประกันภัยคือ สมาชิก ที่เรียกว่า Names © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
The Institute of London Underwriter © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
The Institute of London Underwriter ความเป็นมา - เกิดขึ้นและพัฒนามาภายหลังจากการยกเลิกการผูกขาด มีบริษัทรับประกันภัยเกิดขึ้นมากมาย รับประกันภัยโดยตรงและผ่านหน้า รวมตัวกันก่อตั้ง ILU © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
The Institute of London Underwriter ความร่วมมือระหว่าง Lloyd’s of London กับ The Institute of London Underwriter MAR Forms and Institute Clauses © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
กรมธรรม์ประกันภัย และข้อสัญญามาตรฐาน - Old S.&G. Policy - New Standard Policy (MAR Forms) และ Institute Clauses © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
Mutual Insurance Association © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
Mutual Insurance Association ความเป็นมา - ความไม่พอใจในเงื่อนไขความคุ้มครอง อัตราเบี้ยประกันภัยของ Lloyd’s of London © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์
Mutual Insurance Association ภัยที่รับเสี่ยง/กฎของสมาคม และการจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่สมาคม © ศาสตราจารย์ ดร. กำชัย จงจักรพันธ์